วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์อัษฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา

SHARE
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์อัษฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา
ธรรมทรรศน์ รวบรวม


คัมภีร์ อัษฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา ซึ่งรจนาขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 100 ก่อน ค.ศ.-ค.ศ.200 เป็นพระสูตรมหายานแรกๆ ที่กล่าวถึงทฤษฎีทวิกายของพระพุทธเจ้า ได้แก่ รูปกาย หมายถึงกายของพระพุทธเจ้าที่ทรงอุบัติขึ้นในโลก และธรรมกาย ซึ่งเป็นพุทธภาวะ ส่วนใหญ่ของพระสูตรนี้ กล่าวถึงทฤษฎีทวิกายคือรูปกายกับธรรมกายที่กล่าวถึงนี้ ซึ่งก็คล้ายคลึงกับคัมภีร์ฝ่ายเถรวาทเช่นกัน เช่นในคัมภีร์อัษฏสาหัสริกาปรัชญาปารมิตาได้กล่าวว่า “ธรรมกายทั้งหลายคือพระพุทธเจ้า ภิกษุทั้งหลาย ท่านไม่พึงคิดว่า กายที่ท่านเห็นอยู่นี้เป็นกายจริงของเรา ท่านจงเห็นเราจากความพร้อมบริบูรณ์คือธรรมกายเถิด”  
ในคัมภีร์เถรวาท พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ธรรมกายเป็นชื่อของพระตถาคต "ตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ   ธมฺมกาโย อิติปิ   พฺรหฺมกาโย อิติปิ   ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิ"
"วาเสฏฐะและภารทวาชะ   คำว่า ธรรมกาย ก็ดี   พรหมกาย ก็ดี   ธรรมภูต ก็ดี   พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต" (ที.ปา.11/55/92)

1. ธรฺมกายา พุทฺธา ภควนฺตะ  dharmakāyā buddhā bhagavantaḥ ธรรมกาย คือ พระพุทธเจ้า หรือพระผู้มีพระภาคเจ้า The Dharma-bodies are the Buddhas, the Lords.
        และหลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์อัษฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา มีปรากฏดังนี้
       ๑. tatkasya hetoḥ? yathāpi nāma tathāgatanetrīcitrīkāreṇa / etaddhi tathāgatānāṃ bhūtārthikaṃ śarīram / tatkasya hetoḥ? uktaṃ hyetadbhagavatā - dharmakāyā buddhā bhagavantaḥ / mā khalu punarimaṃ bhikṣavaḥ satkāyaṃ kāyaṃ manyadhvam / dharmakāyapariniṣpattito māṃ bhikṣavo drakṣyatha / eṣa ca tathāgatakāyo bhūtakoṭiprabhāvito draṣṭavyo yaduta prajñāpāramitā / na khalu punarme bhagavaṃsteṣu tathāgataśarīreṣvagauravam / gauravameva me bhagavaṃsteṣu tathāgataśarīreṣu /
ตตฺกสฺย เหโตะยถาปิ นาม ตถาคตเนตฺรีจิตฺรีกาเรณ เอตทฺธิ ตถาคตานํา ภูตารฺถิกํ ศรีรมฺ ตตฺกสฺย เหโตะอุกฺตํ หฺเยตทฺภควตา ธรฺมกายา พุทฺธา ภควนฺตะ มา ขลุ ปุนริมํ ภิกฺษวะ สตฺกายํ กายํ มนฺยธฺวมฺ ธรฺมกายปรินิษฺปตฺติโต มํา ภิกฺษโว ทฺรกฺษฺยถ เอษ  ตถาคตกาโย ภูตโกฏิปฺรภาวิโต ทฺรษฺฏวฺโย ยทุต ปฺรชฺญาปารมิตา  ขลุ ปุนรฺเม ภควํสฺเตษุ ตถาคตศรีเรษฺวคอุรวมฺ คอุรวเมว เม ภควํสฺเตษุ ตถาคตศรีเรษุ 
which one would you take? Sakra: Just this perfection of wisdom. Because of my esteem for the Guide of the Tathagatas.  Because in a true sense this is the body of the Tathagatas.  As the Lord has said: “The Dharma-bodies are the Buddhas, the Lords.  But, monks, you should not think that this individual body is my body. Monks, you should see Me from the accomplishment of the Dharma-body.”  But that Tathagata-body should be seen as brought about by the reality-limit, i.e. by the perfection of wisdom.  It is not, O Lord, that I lack in respect for the relics of the Tathagata.  On the contrary, I have a real respect for them.
             เธอยึดหลักอะไร  ท้าวสักกะ ตอบ ข้าพเจ้ายึดหลักความสมบูรณ์ของภูมิปัญญา เพราะความเลื่อมใสในแนวทางของตถาคต  เพราะในความรู้สึกที่แท้จริงแล้ว ก็คือ กายของพระตถาคตนั่นเอง อย่างที่พระพุทธองค์เคยตรัสสั่งสอนไว้ ธรรมกาย คือ พระพุทธเจ้า หรือพระผู้มีพระภาคเจ้า  แต่ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่ควรคิดเห็นว่า ร่างกายของตถาคตเป็นของเรา เธอทั้งหลายจะเห็นเราตถาคตจากการบรรลุธรรมกาย  อย่างไรก็ตาม กายของตถาคต เป็นความเป็นจริงที่ถูกขีดจำกัด นั่นคือปรัชญาปารมิตา ไม่ใช่ว่าข้าพระองค์ไม่มีความเลื่อมใสพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า  แต่ในทางตรงกันข้าม ข้าพเจ้ามีความเลื่อมใสยิ่งนักในพระบรมสารีริกธาตุเหล่านั้น

2.ธรฺมกายานุภาวานฺ dharmakāyānubhāvān ด้วยความอานุภาพของธรรมกาย through the might of the Dharma-body
๒. yathā ca bhagavan rājapuruṣo rājānubhāvān mahato janakāyasyākutobhayaḥ pūjyaḥ, evaṃ sa dharmabhāṇako dharmakāyānubhāvān mahato janakāyasyākutobhayaḥ pūjyaḥ |
ยถา  ภควนฺ ราชปุรุโษ ราชานุภาวานฺ มหโต ชนกายสฺยากุโตภยะ ปูชฺยะเอวํ  ธรฺมภาณโก ธรฺมกายานุภาวานฺ มหโต ชนกายสฺยากุโตภยะ ปูชฺยะ 
As a king should be worshipped, because his royal might gives courage to a great body of people, (99) so also the preacher of dharma, because, through the might of the Dharma-body, he gives courage to a great body of people.
ในฐานะที่เป็นราชบุรุษ ควรได้รับการเคารพสักการะเพราะความยิ่งใหญ่ของอานุภาพกษัตริย์จากผู้คนมากมาย

(99) เช่นเดียวกันกับผู้แสดงธรรม เขาจึงได้รับการบูชาจากผู้คนมากมาย เพราะยิ่งใหญ่ด้วยความอานุภาพของธรรมกาย

๓. yathā ca bhagavan sarvalokadhātuṣu buddhānāṃ bhagavatāṃ dharmadeśanā prajñāpāramitānirjātatvātpūjyā, evaṃ dharmabhāṇakasya dharmadeśanā prajñāpāramitānirjātatvātpūjyā / yathā ca bhagavan rājapuruṣo rājānubhāvānmahato janakāyasya akutobhayaḥ pūjyaḥ, evaṃ sa dharmabhāṇako dharmakāyānubhāvānmahato janakāyasya akutobhayaḥ pūjyaḥ / yathā ca dharmadeśanā dharmabhāṇakāś ca pūjāṃ labhante, evaṃ tāni tathāgataśarīrāṇi pūjāṃ labhante /
ยถา  ภควนฺ สรฺวโลกธาตุษุ พุทฺธานํา ภควตํา ธรฺมเทศนา ปฺรชฺญาปารมิตานิรฺชาตตฺวาตฺปูชฺยาเอวํ ธรฺมภาณกสฺย ธรฺมเทศนา ปฺรชฺญาปารมิตานิรฺชาตตฺวาตฺปูชฺยา ยถา  ภควนฺ ราชปุรุโษ ราชานุภาวานฺมหโต ชนกายสฺย อกุโตภยะ ปูชฺยะเอวํ  ธรฺมภาณโก ธรฺมกายานุภาวานฺมหโต ชนกายสฺย อกุโตภยะ ปูชฺยะ ยถา  ธรฺมเทศนา ธรฺมภาณกาศฺ  ปูชํา ลภนฺเตเอวํ ตานิ ตถาคตศรีราณิ ปูชํา ลภนฺเต /
And as the demonstration of dharma by the Buddhas and Lords in all world systems should be worshipped because it has come forth from the perfection of wisdom, so also the dharma-preacher’s demonstration of dharma.  As a king should be worshipped, because his royal might gives courage to a great body of people, (99) so also the preacher of dharma, because, through the might of the Dharma-body, he gives courage to a great body of people. But the relics of the Tathagata are worshipped for the same reason that one worships the demonstration of dharma, and the preacher of dharma. 
และในขณะที่การแสดงธรรมโดยพระพุทธเจ้าผู้มีพระภาคเจ้า ในโลกธาตุทั้งหมดควรได้รับการเคารพบูชาเพราะมันได้ออกมาจากปรัชญาปารมิตาฉันใด การกล่าวธรรมของนักเทศน์ควรได้รับการเคารพบูชาเพราะมันได้ออกมาจากปรัชญาปารมิตาฉันนั้น
ในฐานะที่เป็นราชบุรุษ ควรได้รับการเคารพสักการะเพราะความยิ่งใหญ่ของอานุภาพกษัตริย์จากผู้คนมากมาย

(99) เช่นเดียวกันกับผู้แสดงธรรม เขาจึงได้รับการบูชาจากผู้คนมากมาย อันไม่มีภัยแต่ที่ไหน เพราะยิ่งใหญ่ด้วยความอานุภาพของธรรมกาย อนึ่ง พระบรมสารีริกธาตุของพระตถาคตได้รับการเคารพบูชาด้วยเหตุผลเดียวกับที่คนที่แสดงธรรมะและผู้กล่าวธรรมะ

๔. punaraparaṃ subhūte avinivartanīyo bodhisattvo mahāsattvaḥ saddharmaparigrahasya kṛtaśaḥ ātmaparityāgam api karoti, jīvitaparityāgam api karoti / tasmādbodhisattvo mahāsattvo 'vinivartanīyaḥ saddharmaparigrahāya paramudyogamāpadyate atītānāgatapratyutpannānāṃ buddhānāṃ bhagavatāṃ premṇā ca gauraveṇa ca / dharmakāyā buddhā bhagavanta iti dharme prema ca gauravaṃ copādāya (Vaidya 169)
ปุนรปรํ สุภูเต อวินิวรฺตนีโย โพธิสตฺตฺโว มหาสตฺตฺวะ สทฺธรฺมปริคฺรหสฺย กฤตศะ อาตฺมปริตฺยาคมฺ อปิ กโรติชีวิตปริตฺยาคมฺ อปิ กโรติ ตสฺมาทฺโพธิสตฺตฺโว มหาสตฺตฺโว 'วินิวรฺตนียะ สทฺธรฺมปริคฺรหาย ปรมุทฺโยคมาปทฺยเต อตีตานาคตปฺรตฺยุตฺปนฺนานํา พุทฺธานํา ภควตํา เปฺรมฺณา  คอุรเวณ  ธรฺมกายา พุทฺธา ภควนฺต อิติ ธรฺเม เปฺรม  คอุรวํ โจปาทาย (วอิทฺย ๑๖๙)
Furthermore, an irreversible Bodhisattva tries to gain the good dharma even if it costs him his life and all his belongings.  Therefore he makes a supreme effort to gain the good dharma, through his affection and respect for the Buddhas and Lords, past, future and present.  In the conviction that “the Dharma-bodies are the Buddhas, the Lords” (339) he wins the good dharma through his affection and respect for Dharma.  
          นอกจากนี้ ความตั้งใจอันแน่วแน่ของพระโพธิ์สัตว์ที่จะบรรลุธรรมถึงแม้ว่าจะต้องแลกด้วยชีวิตและทรัพย์สินอื่นใดก็ตาม ดังนั้น ท่านได้ทำความเพียรอย่างต่อเนื่องเพื่อที่จะบรรลุธรรม ท่านระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ พระองค์ปัจจุบัน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคตด้วยความเลื่อมใส  ด้วยความเชื่อที่ว่า ธรรมกายคือตถาคต หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านได้ตรัสรู้ธรรมด้วยความเลื่อมใสและความเคารพที่ท่านมีในพระธรรม 

๕. tat kasya hetoḥ? atītānāgatapratyutpannānāṃ hi ānanda tathāgatānām arhatāṃ samyaksaṃbuddhānāṃ dharmakāyateti tāṃ dharmatāṃ pramāṇīkṛtya |
ตตฺกสฺย เหโตะ? อตีตานาคตปฺรตฺยุตฺปนฺนานํา หิ อานนฺท ตถาคตานามรฺหตํา สมฺยกฺสํพุทฺธานํา ธรฺมกายเตติ ตํา ธรฺมตํา ปฺรมาณีกฤตฺย /
For as the dharma-body of the past, future and present Tathagatas is this dharma-text authoritative.  In the same way in which you, Ananda, behave towards Me who at present reside as a Tathagata – with solicitude, affection, respect and helpfulness - just so, with the same solicitude,
ข้อนั้นเป็นไฉน

ความเป็นแห่งธรรม มีประมาณนับไม่ได้ ว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมกาย ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันควรได้นามว่าตถาคตเจ้า อันมีในอดีต ในอนาคตและปัจจุบัน

๖. ye ca tathāgatasyāgamanaṃ ca gamanaṃ ca kalpayanti, sarve te bālajātīyā duṣprajñajātīyā iti vaktavyāḥ, tadyathāpi nāma sa eva puruṣo yo 'nudake udakasaṃjñāmutpādayati / tatkasya hetoḥ? na hi tathāgato rūpakāyato draṣṭavyaḥ / dharmakāyāstathāgatāḥ / na ca kulaputra dharmatā āgacchati vā gacchati vā / evameva kulaputra nāsti tathāgatānāmāgamanaṃ vā gamanaṃ vā /
เย จ ตถาคตสฺยาคมนํ จ คมนํ จ กลฺปยนฺติ, สรฺเว เต พาลชาตียา ทุษฺปฺรชฺญชาตียา อิติ วกฺตวฺยาะ, ตทฺยถาปิ นาม ส เอว ปุรุโษ โย 'นุทเก อุทกสํชฺญามุตฺปาทยติ / ตตฺกสฺย เหโตะ? น หิ ตถาคโต รูปกายโต ทฺรษฺฏวฺยะ / ธรฺมกายาสฺตถาคตาะ / น จ กุลปุตฺร ธรฺมตา อาคจฺฉติ วา คจฺฉติ วา / เอวเมว กุลปุตฺร นาสฺติ ตถาคตานามาคมนํ วา คมนํ วา /
How could its coming or going be conceived? That man again is foolish and stupid if, on seeing the mirage, he forms the idea of water where there is no water. Water in its own being certainly does not exist in that mirage. Dharmodgata:  Equally foolish are all those who adhere to the Tathagata through form and sound, and who in consequence imagine the coming or going of a Tathagata.   For a Tathagata cannot be seen from his form-body. The Dharma-bodies are the Tathagatas and the real nature of dharmas does not come or go.   There is no coming or going of the body of an elephant, horse, chariot or foot-soldier, which has been conjured up by a magician.
จะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นได้อย่างไร?
ชนทั้งหลายเหล่าใด ย่อมไม่กำหนด ซึ่งการมาและการไปของพระตถาคต ชนพาล เหล่านั้นทั้งหมด ย่อมกำหนดว่า ผู้มีปัญญาทราม  ชายคนนั้นอีกครั้งเป็นคนโง่และโง่หากเห็นภาพลวงตาเขาจะสร้างความคิดเรื่องน้ำที่ไม่มีน้ำ (น้ำในตัวมันเองไม่ได้มีอยู่จริงในภาพลวงตานั้น)

ข้อนั้นเป็น ไฉน: เพราะตถาคตไม่พึงเห็นด้วยรูปกาย เพราะตถาคตคือธรรมกาย ดูก่อนกุลบุตร ความเป็นแห่งธรรม ย่อมไม่มา หรือย่อมไม่ไป ฉันใด การมาหรือการไปของพระตถาคตย่อมไม่มีฉันนั้นเหมือนกัน

ที่มา

SHARE

Author: verified_user

1 ความคิดเห็น: