วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกาย ในทศภูมิกสูตร

SHARE
 ที่มาภาพ https://medium.com/@Ling_53313/十地為何稱為-法雲地-2523e51a5dce

หลักฐานธรรมกาย ในทศภูมิกสูตร
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
           พระสูตรนี้ต้นฉบับเดิมที่เป็นภาษาสันสกฤตยังอยู่ครบสมบูรณ์ และมีฉบับแปล 2 ฉบับ ฉบับหนึ่งแปลโดยท่านธรรมรักษ์ ซึ่งแปลในปี พ.ศ.840 และฉบับที่แปลโดยกุมารชีพ พระสูตรนี้ได้กล่าวถึงวัชรครรภะโพธิสัตว์ ได้บรรยายถึงข้อปฏิบัติ ที่จะทำให้บุคคลบรรลุความเป็นพระโพธิสัตว์ 10 ประการ คือ
          1 ปรมุทิตา ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บำเพ็ญทานบารมี เฉลี่ยความสุขให้สรรพสัตว์
          2 วิมลา ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บำเพ็ญศีลบารมี
          3 ปรภากวี ขั้นนี้พระโพธิสัตว์พิจารณาถึงสภาพอันแท้จริงของสิ่งทั้งหลาย แสวงหาธรรมเพื่อ ช่วยสัตว์ผู้ประสบทุกข์ โดยปฏิบัติบันติบารมีธรรม
          4 อริสมติ ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ ขจัดความคิดอันผิดๆให้หมดสิ้นไป บำเพ็ญวิริยบารมี
          5 สุทุรชย ขั้นนี้พระโพธิสัตว์มีความรู้สมบูรณ์ ด้วยการปฏิบัติธยานบารมี
          6 อภิมุกต ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มชัดในทฤษฎีปฏิจจสมุปบาท เป็นขั้น
แห่งปรัชญาหรือปัญญาบารมี
          7 ทุรงคม ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ เกิดความชำนาญในอุบายวิธีต่างๆแห่งปัญญา
          8 อจล ขั้นนี้พระโพธิสัตว์อยู่ในสภาพที่ไม่เกิดและไม่ตาย เกิดในพุทธศาสนา ยังภูมิแห่งพุทธ ของตนให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติปรินามนบารมี
          9 ขั้นนี้พระโพธิสัตว์มีปรัชญาของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์เต็มที่สามารถสั่งสอนธรรม และปลุกสัตว์ให้ตื่นขึ้นจากอวิชชาเป็นขั้นที่บำเพ็ญพลบารมี
          10 ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บรรลุขั้นสุดท้าย พระโพธิสัตว์มีอำนาจและลักษณะของพระพุทธทุกประการเป็นขั้นที่บำเพ็ญญาณบารมีธรรม

๑.
sarvatrānugataviniścayakauśalyapratilambhāya / api tu khalu punaḥ kulaputra pratibhātu te 'yaṃ dharmālokamukhaprabhedakauśalyadharmaparyāyo buddhānubhāvena tathāgatajñānālokādhiṣṭhānena svakuśalamūlapariśodhanāya dharmadhātusuparyavadāpanāya sattvadhātvanugrahāya dharmakāyajñānaśārīrāya sarvabuddhābhiṣekasaṃpratīcchanāya sarvalokābhyudgatātmabhāvasaṃdarśanāya sarvalokagatisamatikramāya lokottadharmagatipariśodhanāya sarvajñajñānaparipūraṇāya //
สรฺวตฺรานุคตวินิศฺจยกอุศลฺยปฺรติลมฺภาย / อปิ ตุ ขลุ ปุนะ กุลปุตฺร ปฺรติภาตุ เต 'ยํ ธรฺมาโลกมุขปฺรเภทกอุศลฺยธรฺมปรฺยาโย พุทฺธานุภาเวน ตถาคตชฺญานาโลกาธิษฺฐาเนน สฺวกุศลมูลปริโศธนาย ธรฺมธาตุสุปรฺยวทาปนาย สตฺตฺวธาตฺวนุคฺรหาย ธรฺมกายชฺญานศารีราย สรฺวพุทฺธาภิเษกสํปฺรตีจฺฉนาย สรฺวโลกาภฺยุทฺคตาตฺมภาวสํทรฺศนาย สรฺวโลกคติสมติกฺรมาย โลโกตฺตธรฺมคติปริโศธนาย สรฺวชฺญชฺญานปริปูรณาย //

เพื่อการอบรมสัตว์โลกให้มีความพร้อม และเพื่อความเชี่ยวชาญในการจำแนกสภาวะ ดูก่อนกุลบุตร อีกประการหนึ่ง ได้ยินว่า เธอจงสอนธรรมนี้ และวิธีการอันแยบคายประเภทต่างๆ ในการประกาศธรรม ด้วยพุทธานุภาพ ด้วยญาณอาโลกและการอธิษฐานของตถาคต เพื่อการชำระกุศลมูลของตน เพื่อความบริสุทธิ์แห่งธรรมธาตุ เพื่ออนุคราะห์สัตว์โลก เพื่อธรรมกายคือสรีระแห่งญาณ เพื่อการอภิเษกจากพระพุทธเจ้าทั้งปวง เพื่อแสดงอัตภาพที่ขยายไปสู่โลกทั้งปวง เพื่อก้าวข้ามโลกคติทั้งปวง เพื่อความหมดจดแห่งคติธรรมที่เป็นโลกุตตระ เพื่อความบริบูรณ์แห่งสรวชญาณ|

To train the world's animals to be ready and for expertise in classifying conditions Look, my dear son. Another thing: I heard that you must teach this Dhamma. and various types of subtle methods in preaching the Dhamma With Buddha's power With the knowledge of the world and the prayer of the trīgata for the payment of one's merit For the purity of Dharma elements To support animals in the world For Dhammakaya is the body of knowledge. For the royal wedding of all Buddhas To express the self that extends to the entire world. To transcend the world of all beliefs For the purity of mundane morality For the perfection of paradise |

๒.
prakṛtidharmakāyatāṃ ca sarvabuddhanāmavatarati, rūpakāyalakṣaṇānuvyañjanaviṭhapanālaṃkārābhinirhāraṃ cābhinirharati / anabhilāpyarutaghoṣāpagataṃ ca prakṛtiśāntaṃ tathāgataghoṣamadhimucyate, sarvasvarāṅgavibhaktiviśuddhyalaṃkārābhinirhāraṃ cābhinirharati /

ปฺรกฤติธรฺมกายตํา จ สรฺวพุทฺธนามวตรติ, รูปกายลกฺษณานุวฺยญฺชนวิฐปนาลํการาภินิรฺหารํ จาภินิรฺหรติ / อนภิลาปฺยรุตโฆษาปคตํ จ ปฺรกฤติศานฺตํ ตถาคตโฆษมธิมุจฺยเต, สรฺวสฺวรางฺควิภกฺติวิศุทฺธฺยลํการาภินิรฺหารํ จาภินิรฺหรติ / เอกกฺษณตฺรฺยธฺวานุโพธํ จ พุทฺธานํา ภควตามวตรติ,

ย่อมได้ความเป็นธรรมกายอันเป็นภาวะปกติและเป็นธรรมของพระพุทธเจ้าทั้งปวง และย่อมบำเพ็ญเพื่อให้ได้รูปกายที่ประดับด้วยพุทธลักษณะและอนุพยัญชนะ เพื่อตถาคตโฆสะ อันเป็นเสียงที่ปราศจากคำพูดและการกล่าว มีธรรมชาติสงบและได้บำเพ็ญวิสุทธิอลังการสำหรับการจำแนกเสียงต่างๆ ย่อมก้าวลงสู่การตรัสรู้ของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ในเวลาเพียงขณะเดียว

One will gain Dhammakaya, which is the normal and fair condition of all Buddhas. and practice in order to obtain a body decorated with Buddha characteristics and consonants. For the Tathagatakosa which is a sound without words and speech Have a calm nature and have practiced the magic of discerning different sounds. One can step into the enlightenment of the Lord Buddha in the past, present, and future in just one moment.

๓.
apramāṇaghoṣābhinirhārataḥ apramāṇajñānābhinirhārataḥ apramāṇopapattyabhinirhārataḥ apramāṇakṣetrapariśodhanataḥ apramāṇasattvaparipācanataḥ (Dbh 44) apramāṇabuddhapūjopasthānataḥ apramāṇadharmakāyānubodhataḥ apramāṇābhijñābalādhānābhinirhārataḥ apramāṇaparṣanmaṇḍalavibhaktyabhinirhārataśca apramāṇānugatena kāyavāṅmanaskarmābhinirhāreṇa sarvabodhisattvacaryābalaṃ samudāgacchatyavicālyayogena /
อปฺรมาณโฆษาภินิรฺหารตะ อปฺรมาณชฺญานาภินิรฺหารตะ อปฺรมาโณปปตฺตฺยภินิรฺหารตะ อปฺรมาณเกฺษตฺรปริโศธนตะ อปฺรมาณสตฺตฺวปริปาจนตะ (ทฺภฺ ๔๔) อปฺรมาณพุทฺธปูโชปสฺถานตะ อปฺรมาณธรฺมกายานุโพธตะ อปฺรมาณาภิชฺญาพลาธานาภินิรฺหารตะ อปฺรมาณปรฺษนฺมณฺฑลวิภกฺตฺยภินิรฺหารตศฺจ อปฺรมาณานุคเตน กายวางฺมนสฺกรฺมาภินิรฺหาเรณ สรฺวโพธิสตฺตฺวจรฺยาพลํ สมุทาคจฺฉตฺยวิจาลฺยโยเคน /

เพราะได้โมษะอันไม่มีประมาณ เพราะมีญาณอันไม่มีประมาณ เพราะมีอุบัติไม่มีประมาณ เพราะมีเกษตรอันบริสุทธิ์ไม่มีประมาณ เพราะได้สั่งสอนสัตว์จำนวนมากไม่มีประมาณให้มีความพร้อม เพราะได้บูชาพระพุทธเจ้าจำนวนมากไม่มีประมาณ เพราะมีธรรมกายไม่มีประมาณ เพราะได้อภิญญาพละไม่มีประมาณ เพราะมีบริวารไม่มีประมาณ โพธิสัตว์จรรยาพละทั้งปวงย่อมโดดเด่นด้วยการได้ความไม่มีประมาณและด้วยการทำกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมให้เกิดขึ้น

Because of the infinite delusion Because he has infinite wisdom. Because there are no accidents. Because there is pure agriculture without measure. Because he has taught countless animals to be ready. because he had worshiped an incalculable number of Buddhas Because there is an immeasurable Dhammakaya. Because he had gained supernatural power and strength that was immeasurable. Because there are no followers. Bodhisatta's physical conduct is characterized by attaining infiniteness and by producing physical kamma, verbal kamma, and mental kamma.

๔.
sa sarvakāyavikalpāpagataḥ kāyasamatāprāptaḥ (taccāsya kāyasaṃdarśanamakṣūṇamavandhyaṃ ca sattvaparipākavinayāya) sa sattvakāyaṃ ca prajānāti / kṣetrakāyaṃ ca ... / karmavipākakāyaṃ ca ... / śrāvakakāyaṃ ca ... / pratyekabuddhakāyaṃ ca ... / bodhisattvakāyaṃ ca ... / tathāgatakāyaṃ ca ... / jñānakāyaṃ ca ... / dharmakāyaṃ ca ... / ākāśakāyaṃ ca prajānāti / sa sattvānāṃ cittāśayābhinirhāramājñāya yathākālaparipākavinayānatikramādākāṅkṣan sattvakāyaṃ svakāyamadhitiṣṭhati / evaṃ kṣetrakāyaṃ karmavipākakāyaṃ ...
ส สรฺวกายวิกลฺปาปคตะ กายสมตาปฺราปฺตะ (ตจฺจาสฺย กายสํทรฺศนมกฺษูณมวนฺธฺยํ จ สตฺตฺวปริปากวินยาย) ส สตฺตฺวกายํ จ ปฺรชานาติ / เกฺษตฺรกายํ จ ... / กรฺมวิปากกายํ จ ... / ศฺราวกกายํ จ ... / ปฺรตฺเยกพุทฺธกายํ จ ... / โพธิสตฺตฺวกายํ จ ... / ตถาคตกายํ จ ... / ชฺญานกายํ จ ... / ธรฺมกายํ จ ... / อากาศกายํ จ ปฺรชานาติ / ส สตฺตฺวานํา จิตฺตาศยาภินิรฺหารมาชฺญาย ยถากาลปริปากวินยานติกฺรมาทากางฺกฺษนฺ สตฺตฺวกายํ สฺวกายมธิติษฺฐติ / เอวํ เกฺษตฺรกายํ กรฺมวิปากกายํ ...

“พระองค์ทรงอยู่เหนือมโนทัศน์แห่งกายทั้งปวงแล้ว ทรงบรรลุความอุเบกขาต่อกายทั้งปวง (และทรงเข้าใจนิมิตแห่งกาย ที่เป็นหมัน และสุกงอมเพื่อสุกงอมแห่งสรรพสัตว์) พระองค์ทรงรับรู้กายแห่งสรรพสัตว์... กายทุ่ง .. กายแห่งกรรม... กายสาวก... กายพระพุทธเจ้าผู้เดียวดาย... กายพระโพธิสัตว์... กายของตถาคต... กายความรู้... กายธรรม... กายอวกาศ เข้าใจความปรากฏแห่งจิตของสรรพสัตว์แล้วล่วงพ้นไปเพราะวินัยที่สุกงอมในเวลาอันสมควร พระองค์จึงทรงตั้งกายแห่งกายไว้เหนือกายของตนเอง เช่นเดียวกัน พระองค์ก็ทรงตั้งกายสนามเช่นเดียวกัน กายแห่งผลกรรม…”

"He, having transcended all conceptualizations of the body, attains equanimity towards all bodies (and understands the vision of bodies, the barren, and the ripe for the ripening of beings). He perceives the body of beings... the field body... the body of karmic fruition... the body of a disciple... the body of a solitary Buddha... the body of a Bodhisattva... the body of a Tathagata... the body of knowledge... the Dharma body... the space body. Understanding the manifestation of beings' mental dispositions and transcending them due to the discipline that ripens at the appropriate time, he establishes the body of beings above his own body. Likewise, he establishes the field body, the body of karmic fruition..."

๕.
rūpalakṣaṇānuvyañjanavicitrālaṃkārakāyatāṃ ca / prabhākāyatāṃ ca / manomayakāyatāṃ ca / puṇyakāyatāṃ ca / jñānakāyatāṃ ca / dharmakāyatāṃ ca prajānāti / jñānakāyānāṃ suvicāritatāṃ ca prajānāti / yathāvannistīraṇatāṃ ca phalaprayogasaṃgṛhītatāṃ (Dbh 46) ca laukikalokottaravibhāgatāṃ ca triyāṇavyavasthānatāṃ ca sādhāraṇāsādhāraṇatāṃ ca nairyāṇikānairyāṇikatāṃ ca śaikṣāśaikṣatāṃ ca prajānāti / dharmakāyānāṃ samatāṃ ca prajānāti / avikopanatāṃ ca avasthānasaṃketasaṃvṛttivyavasthānatāṃ ca sattvāsattvadharmavyavasthānatāṃ ca buddhadharmāryasaṃghavyavasthānatāṃ ca prajānāti /
รูปลกฺษณานุวฺยญฺชนวิจิตฺราลํการกายตํา จ / ปฺรภากายตํา จ / มโนมยกายตํา จ / ปุณฺยกายตํา จ / ชฺญานกายตํา จ / ธรฺมกายตํา จ ปฺรชานาติ / ชฺญานกายานํา สุวิจาริตตํา จ ปฺรชานาติ / ยถาวนฺนิสฺตีรณตํา จ ผลปฺรโยคสํคฤหีตตํา (ทฺภฺ ๔๖) จ ลอุกิกโลโกตฺตรวิภาคตํา จ ตฺริยาณวฺยวสฺถานตํา จ สาธารณาสาธารณตํา จ นอิรฺยาณิกานอิรฺยาณิกตํา จ ศอิกฺษาศอิกฺษตํา จ ปฺรชานาติ / ธรฺมกายานํา สมตํา จ ปฺรชานาติ / อวิโกปนตํา จ อวสฺถานสํเกตสํวฤตฺติวฺยวสฺถานตํา จ สตฺตฺวาสตฺตฺวธรฺมวฺยวสฺถานตํา จ พุทฺธธรฺมารฺยสํฆวฺยวสฺถานตํา จ ปฺรชานาติ /

รู้ว่าตถาคตกายเป็นกายประดับด้วยพุทธลักษณะและอนุพยัญชนะ ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นกายมีรัศมี| ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นมโนมยกาย ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นกายประกอบด้วยบุญ ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นญาณกาย ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นธรรมกาย ย่อมรู้ว่าญาณกายเป็นเครื่องพิจารณา ไตร่ตรองประกอบด้วยผลและเหตุ ต่างโดยความเป็นโลกียะและโลกุตตระ และกำหนดยานทั้งสาม เป็นสาธารณะและอสาธารณะ เป็นนิยานิกะและอนิยานิกะ (สภาพที่นำออกจากสังสารวัฏ) เป็นเสขะและอเสขะ  ย่อมรู้ว่าธรรมกายเป็นความเท่าเทียมกัน ไม่ถูกเบียดเบียน มีที่อยู่และอาการเป็นสิ่งกำหนดความมีอยู่ เป็นธรรมชาติมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต และเป็นสภาวะของพุทธะ ธรรมะ และอริยสงฆ์

Know that the Tathagata is a body decorated with Buddha characteristics and consonants. He knows that the Tathagata body is a radiant body. He knows that the Tathagata body is a manomaya body. He knows that the Tathagata body is a body endowed with merit. One knows that the Tathagata body is a knowledge body. One knows that the Tathagata is Dhammakaya. He knows that the body's perception is a consideration. Ponder consists of effects and causes. Different by being mundane and mundane. and determine the three vehicles It is public and non-public. It is Niyānika and Aniyaṇika. (The state of being removed from samsara) is Sekha and Asekha. You know that Dhammakaya is equality. Not being oppressed It has a place to live and symptoms determine its existence. It is naturally present in living things and non-living things. and is the state of the Buddha, Dhamma, and Noble Sangha.

๖.
bodhisattvacaryāsamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti / tathāgatabalavaiśāradyāveṇikabuddhadharmarūpakāyadharmakāyasamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti / sarvākārasarvajñajñānasamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti /
โพธิสตฺตฺวจรฺยาสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ / ตถาคตพลวอิศารทฺยาเวณิกพุทฺธธรฺมรูปกายธรฺมกายสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ / สรฺวาการสรฺวชฺญชฺญานสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ /

โพธิสัตว์จรรยา ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด (สมุทาคม) ตามความเป็นจริง. ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด คือตถาคตพละ เวสารัชชกรณธรรม อาเวณิกพุทธธรรม รูปกายและธรรมกาย ตามความเป็นจริง. ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด คือสรวชญาณพร้อมอาการทั้งปวง ตามความเป็นจริง.

Bodhisattva Ethics He knows all possibilities (Samudakam) as they really are. He knows all existence, that is, Tathagatapala, Vesarajakaraṇadhamma. Venik Phutthadhamma physical form and dhammakaya As a matter of fact. He knows all the possibilities. It is parasavajāya with all its symptoms. As a matter of fact.

ที่มา
https://th.wikipedia.org/wiki/ทศภูมิ
SHARE

Author: verified_user

0 ความคิดเห็น: