วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกายใน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร

หลักฐานธรรมกายใน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร


หลักฐานธรรมกายใน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร

วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (อังกฤษ: Diamond Sutra) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น

เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากับพระสุภูติซึ่งเป็นพระอรหันตสาวก ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลักศูนยตา ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง แม้ธรรมะและพระนิพพานก็มีสภาวะเป็นศูนยตาด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยในวัฏสงสารพึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะสังขตธรรมนั้นอุปมาดั่งภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน

แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุนาคารชุนแห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้ พระสูตรนี้มีแปลเป็นภาษาไทยโดย เสถียร โพธินันทะ
atha khalu bhagavāṃstasyāṃ velāyāmime gāthe abhāṣata-
ye māṃ rūpeṇa cādrākṣurye māṃ ghoṣeṇa cānvaguḥ
mithyāprahāṇaprasṛtā na māṃ drakṣyanti te janāḥ1
dharmato buddho draṣṭavyo dharmakāyā hi nāyakāḥ
dharmatā ca na vijñeyā na sā śakyā vijānitum226
อถ ขลุ ภควําสฺตสฺยํา เวลายามิเม คาเถ อภาษต-
เย มํา รูเปณ จาทฺรากฺษุรฺเย มํา โฆเษณ จานฺวคุะฯ
มิถฺยาปฺรหาณปฺรสฤตา น มํา ทฺรกฺษฺยนฺติ เต ชนาะ๚๑๚
ธรฺมโต พุทฺโธ ทฺรษฺฏวฺโย ธรฺมกายา หิ นายกาะฯ
ธรฺมตา จ น วิชฺเญยา น สา ศกฺยา วิชานิตุมฺ๚๒๚๒๖๚
คำแปล: ในเวลานั้นแล พระพุทธองค์ทรงเปล่งอุทานคาถาเหล่านี้
ชนเหล่าใดเห็นเราโดยรูปด้วย ชนเหล่าใดติดตาม(ฟัง)เราโดยเสียงด้วย 
มัวประกอบความเพียรไม่ถูกทาง พวกเขาย่อมไม่ได้ชื่อว่า เห็นเรา 
พึงเห็นพระพุทธเจ้าโดยความเป็นธรรม พระนายกเจ้าเป็นธรรมกาย 
แต่สภาวะแห่งธรรม ไม่อาจสัมผัสรับรู้ได้ “ธรรมตา”จะรับรู้ด้วยวิญญาณไม่ได้[1]

 ซึ่งคล้ายกับคัมภีร์พระสูตรมหายาน วัชรัจเฉทิกาปรัชญาปารมิตาสูตร (ฉบับภาษาสันสกฤต)
अथ खलु भगवांस्तस्यां वेलायामिमे गाथे अभाषत-
ये मां रूपेण चाद्राक्षुर्ये मां घोषेण चान्वगुः।
मिथ्याप्रहाणप्रसृता न मां द्रक्ष्यन्ति ते जनाः॥१॥
धर्मतो बुद्धो द्रष्टव्यो धर्मकाया हि नायकाः
धर्मता च न विज्ञेया न सा शक्या विजानितुम्॥२॥२६॥
atha khalu bhagavāstasyā velāyāmine gāthe abhāata-
ye mā rūpea cādarākurye mā ghoea cānvāgu |
mithyāprahāaprastā na mā drakyanti te janā || 1 ||
dharmato buddho draṣṭavyo dharmakāyā hi nāyakā |
dharmatā ca na vijñeyā na sā śākyā vijānitum || 2 || || 26 ||
๏ อถ ขลุ ภควำสฺตสฺยำ เวลายามิเน คาเถ อภาษต-
เย มำ รูเปณ จาทรากฺษุรฺเย มำ โฆเษณ จานฺวาคุะ
มิถฺยาปฺรหาณปฺรสฺฤตา น มำ ทฺรกฺษฺยนฺติ เต ชนาะ || ||
ธรฺมโต พุทฺโธ ทฺรษฺฏวฺโย ธรฺมกายา หิ นายกาะ
ธรฺมตา จ น วิชฺเญยา น สา ศากฺยา วิชานิตุมฺ || || || ๒๖ || 
คำแปล: ในเวลานั้นแล พระพุทธองค์ทรงเปล่งอุทานคาถาเหล่านี้
ชนเหล่าใดเห็นเราโดยรูปด้วย ชนเหล่าใดติดตาม(ฟัง)เราโดยเสียงด้วย 
มัวประกอบความเพียรไม่ถูกทาง พวกเขาย่อมไม่ได้ชื่อว่า เห็นเรา 
พึงเห็นพระพุทธเจ้าโดยความเป็นธรรม พระนายกเจ้าเป็นธรรมกาย 
แต่สภาวะแห่งธรรม ไม่อาจสัมผัสรับรู้ได้ “ธรรมตา”จะรับรู้ด้วยวิญญาณไม่ได้
http://www.thai-sanscript.com/index.php/sample/vajrasutra 
   
[梵本ये मां रूपेण चाद्राक्षुर्ये मां घोषेण चान्वगुः।
मिथ्याप्रहाणप्रसृता न मां द्रक्ष्यन्ति ते जनाः॥१॥ 
[
轉寫] ye māṁ rūpeṇa cādrākṣur-ye māṁ ghoṣeṇa cānvaguḥ| 
mithyāprahāṇaprasṛtā na māṁ drakṣyanti te janāḥ||1||
[
什譯「若以色見我、以音聲求我,是人行邪道,不能見如來。 
[
奘譯「諸以色觀我、以音聲尋我,彼生履邪斷,不能當見我。 
[
凈譯「若以色見我、以音聲求我,是人起邪觀,不能當見我。 
[梵本धर्मतो बुद्धो द्रष्टव्यो धर्मकाया हि नायकाः। 
धर्मता च न विज्ञेया न सा शक्या विजानितुम्॥२॥२६॥ 
[轉寫] dharmato buddho draṣṭavyo dharmakāyā hi nāyakāḥ| 
dharmatā ca na vijñeyā na sā śakyā vijānitum||2||26||
[
什譯] (缺譯
[奘譯應觀佛法性,即導師法身,法性非所識,故彼不能了。」 
其可以色身之相比觀乎。故說偈曰。
唯見色聞聲。是人不佛。秦譯止此。而唐譯又云。
應觀佛法性。即導師法性非所識 。故彼不能了。

Those who by my form did see me.
And those who followed me by voice,
Wrong the efforts they engaged in,
Me those people will not see.
From the Dharma should one see the Buddhas,
For the Dharma-bodies are the guides.
Yet Dharma’s true nature should not be discerned,
Nor can it, either, be discerned.
(Vajracchedika Prajndpdramitd, chap. 26.)


หลักฐานธรรมกาย ในทศภูมิกสูตร

หลักฐานธรรมกาย ในทศภูมิกสูตร

 ที่มาภาพ https://medium.com/@Ling_53313/十地為何稱為-法雲地-2523e51a5dce

หลักฐานธรรมกาย ในทศภูมิกสูตร
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
           พระสูตรนี้ต้นฉบับเดิมที่เป็นภาษาสันสกฤตยังอยู่ครบสมบูรณ์ และมีฉบับแปล 2 ฉบับ ฉบับหนึ่งแปลโดยท่านธรรมรักษ์ ซึ่งแปลในปี พ.ศ.840 และฉบับที่แปลโดยกุมารชีพ พระสูตรนี้ได้กล่าวถึงวัชรครรภะโพธิสัตว์ ได้บรรยายถึงข้อปฏิบัติ ที่จะทำให้บุคคลบรรลุความเป็นพระโพธิสัตว์ 10 ประการ คือ
          1 ปรมุทิตา ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บำเพ็ญทานบารมี เฉลี่ยความสุขให้สรรพสัตว์
          2 วิมลา ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บำเพ็ญศีลบารมี
          3 ปรภากวี ขั้นนี้พระโพธิสัตว์พิจารณาถึงสภาพอันแท้จริงของสิ่งทั้งหลาย แสวงหาธรรมเพื่อ ช่วยสัตว์ผู้ประสบทุกข์ โดยปฏิบัติบันติบารมีธรรม
          4 อริสมติ ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ ขจัดความคิดอันผิดๆให้หมดสิ้นไป บำเพ็ญวิริยบารมี
          5 สุทุรชย ขั้นนี้พระโพธิสัตว์มีความรู้สมบูรณ์ ด้วยการปฏิบัติธยานบารมี
          6 อภิมุกต ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มชัดในทฤษฎีปฏิจจสมุปบาท เป็นขั้น
แห่งปรัชญาหรือปัญญาบารมี
          7 ทุรงคม ขั้นนี้พระโพธิสัตว์ เกิดความชำนาญในอุบายวิธีต่างๆแห่งปัญญา
          8 อจล ขั้นนี้พระโพธิสัตว์อยู่ในสภาพที่ไม่เกิดและไม่ตาย เกิดในพุทธศาสนา ยังภูมิแห่งพุทธ ของตนให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติปรินามนบารมี
          9 ขั้นนี้พระโพธิสัตว์มีปรัชญาของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์เต็มที่สามารถสั่งสอนธรรม และปลุกสัตว์ให้ตื่นขึ้นจากอวิชชาเป็นขั้นที่บำเพ็ญพลบารมี
          10 ขั้นนี้พระโพธิสัตว์บรรลุขั้นสุดท้าย พระโพธิสัตว์มีอำนาจและลักษณะของพระพุทธทุกประการเป็นขั้นที่บำเพ็ญญาณบารมีธรรม

๑.
sarvatrānugataviniścayakauśalyapratilambhāya / api tu khalu punaḥ kulaputra pratibhātu te 'yaṃ dharmālokamukhaprabhedakauśalyadharmaparyāyo buddhānubhāvena tathāgatajñānālokādhiṣṭhānena svakuśalamūlapariśodhanāya dharmadhātusuparyavadāpanāya sattvadhātvanugrahāya dharmakāyajñānaśārīrāya sarvabuddhābhiṣekasaṃpratīcchanāya sarvalokābhyudgatātmabhāvasaṃdarśanāya sarvalokagatisamatikramāya lokottadharmagatipariśodhanāya sarvajñajñānaparipūraṇāya //
สรฺวตฺรานุคตวินิศฺจยกอุศลฺยปฺรติลมฺภาย / อปิ ตุ ขลุ ปุนะ กุลปุตฺร ปฺรติภาตุ เต 'ยํ ธรฺมาโลกมุขปฺรเภทกอุศลฺยธรฺมปรฺยาโย พุทฺธานุภาเวน ตถาคตชฺญานาโลกาธิษฺฐาเนน สฺวกุศลมูลปริโศธนาย ธรฺมธาตุสุปรฺยวทาปนาย สตฺตฺวธาตฺวนุคฺรหาย ธรฺมกายชฺญานศารีราย สรฺวพุทฺธาภิเษกสํปฺรตีจฺฉนาย สรฺวโลกาภฺยุทฺคตาตฺมภาวสํทรฺศนาย สรฺวโลกคติสมติกฺรมาย โลโกตฺตธรฺมคติปริโศธนาย สรฺวชฺญชฺญานปริปูรณาย //

เพื่อการอบรมสัตว์โลกให้มีความพร้อม และเพื่อความเชี่ยวชาญในการจำแนกสภาวะ ดูก่อนกุลบุตร อีกประการหนึ่ง ได้ยินว่า เธอจงสอนธรรมนี้ และวิธีการอันแยบคายประเภทต่างๆ ในการประกาศธรรม ด้วยพุทธานุภาพ ด้วยญาณอาโลกและการอธิษฐานของตถาคต เพื่อการชำระกุศลมูลของตน เพื่อความบริสุทธิ์แห่งธรรมธาตุ เพื่ออนุคราะห์สัตว์โลก เพื่อธรรมกายคือสรีระแห่งญาณ เพื่อการอภิเษกจากพระพุทธเจ้าทั้งปวง เพื่อแสดงอัตภาพที่ขยายไปสู่โลกทั้งปวง เพื่อก้าวข้ามโลกคติทั้งปวง เพื่อความหมดจดแห่งคติธรรมที่เป็นโลกุตตระ เพื่อความบริบูรณ์แห่งสรวชญาณ|

To train the world's animals to be ready and for expertise in classifying conditions Look, my dear son. Another thing: I heard that you must teach this Dhamma. and various types of subtle methods in preaching the Dhamma With Buddha's power With the knowledge of the world and the prayer of the trīgata for the payment of one's merit For the purity of Dharma elements To support animals in the world For Dhammakaya is the body of knowledge. For the royal wedding of all Buddhas To express the self that extends to the entire world. To transcend the world of all beliefs For the purity of mundane morality For the perfection of paradise |

๒.
prakṛtidharmakāyatāṃ ca sarvabuddhanāmavatarati, rūpakāyalakṣaṇānuvyañjanaviṭhapanālaṃkārābhinirhāraṃ cābhinirharati / anabhilāpyarutaghoṣāpagataṃ ca prakṛtiśāntaṃ tathāgataghoṣamadhimucyate, sarvasvarāṅgavibhaktiviśuddhyalaṃkārābhinirhāraṃ cābhinirharati /

ปฺรกฤติธรฺมกายตํา จ สรฺวพุทฺธนามวตรติ, รูปกายลกฺษณานุวฺยญฺชนวิฐปนาลํการาภินิรฺหารํ จาภินิรฺหรติ / อนภิลาปฺยรุตโฆษาปคตํ จ ปฺรกฤติศานฺตํ ตถาคตโฆษมธิมุจฺยเต, สรฺวสฺวรางฺควิภกฺติวิศุทฺธฺยลํการาภินิรฺหารํ จาภินิรฺหรติ / เอกกฺษณตฺรฺยธฺวานุโพธํ จ พุทฺธานํา ภควตามวตรติ,

ย่อมได้ความเป็นธรรมกายอันเป็นภาวะปกติและเป็นธรรมของพระพุทธเจ้าทั้งปวง และย่อมบำเพ็ญเพื่อให้ได้รูปกายที่ประดับด้วยพุทธลักษณะและอนุพยัญชนะ เพื่อตถาคตโฆสะ อันเป็นเสียงที่ปราศจากคำพูดและการกล่าว มีธรรมชาติสงบและได้บำเพ็ญวิสุทธิอลังการสำหรับการจำแนกเสียงต่างๆ ย่อมก้าวลงสู่การตรัสรู้ของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ในเวลาเพียงขณะเดียว

One will gain Dhammakaya, which is the normal and fair condition of all Buddhas. and practice in order to obtain a body decorated with Buddha characteristics and consonants. For the Tathagatakosa which is a sound without words and speech Have a calm nature and have practiced the magic of discerning different sounds. One can step into the enlightenment of the Lord Buddha in the past, present, and future in just one moment.

๓.
apramāṇaghoṣābhinirhārataḥ apramāṇajñānābhinirhārataḥ apramāṇopapattyabhinirhārataḥ apramāṇakṣetrapariśodhanataḥ apramāṇasattvaparipācanataḥ (Dbh 44) apramāṇabuddhapūjopasthānataḥ apramāṇadharmakāyānubodhataḥ apramāṇābhijñābalādhānābhinirhārataḥ apramāṇaparṣanmaṇḍalavibhaktyabhinirhārataśca apramāṇānugatena kāyavāṅmanaskarmābhinirhāreṇa sarvabodhisattvacaryābalaṃ samudāgacchatyavicālyayogena /
อปฺรมาณโฆษาภินิรฺหารตะ อปฺรมาณชฺญานาภินิรฺหารตะ อปฺรมาโณปปตฺตฺยภินิรฺหารตะ อปฺรมาณเกฺษตฺรปริโศธนตะ อปฺรมาณสตฺตฺวปริปาจนตะ (ทฺภฺ ๔๔) อปฺรมาณพุทฺธปูโชปสฺถานตะ อปฺรมาณธรฺมกายานุโพธตะ อปฺรมาณาภิชฺญาพลาธานาภินิรฺหารตะ อปฺรมาณปรฺษนฺมณฺฑลวิภกฺตฺยภินิรฺหารตศฺจ อปฺรมาณานุคเตน กายวางฺมนสฺกรฺมาภินิรฺหาเรณ สรฺวโพธิสตฺตฺวจรฺยาพลํ สมุทาคจฺฉตฺยวิจาลฺยโยเคน /

เพราะได้โมษะอันไม่มีประมาณ เพราะมีญาณอันไม่มีประมาณ เพราะมีอุบัติไม่มีประมาณ เพราะมีเกษตรอันบริสุทธิ์ไม่มีประมาณ เพราะได้สั่งสอนสัตว์จำนวนมากไม่มีประมาณให้มีความพร้อม เพราะได้บูชาพระพุทธเจ้าจำนวนมากไม่มีประมาณ เพราะมีธรรมกายไม่มีประมาณ เพราะได้อภิญญาพละไม่มีประมาณ เพราะมีบริวารไม่มีประมาณ โพธิสัตว์จรรยาพละทั้งปวงย่อมโดดเด่นด้วยการได้ความไม่มีประมาณและด้วยการทำกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมให้เกิดขึ้น

Because of the infinite delusion Because he has infinite wisdom. Because there are no accidents. Because there is pure agriculture without measure. Because he has taught countless animals to be ready. because he had worshiped an incalculable number of Buddhas Because there is an immeasurable Dhammakaya. Because he had gained supernatural power and strength that was immeasurable. Because there are no followers. Bodhisatta's physical conduct is characterized by attaining infiniteness and by producing physical kamma, verbal kamma, and mental kamma.

๔.
sa sarvakāyavikalpāpagataḥ kāyasamatāprāptaḥ (taccāsya kāyasaṃdarśanamakṣūṇamavandhyaṃ ca sattvaparipākavinayāya) sa sattvakāyaṃ ca prajānāti / kṣetrakāyaṃ ca ... / karmavipākakāyaṃ ca ... / śrāvakakāyaṃ ca ... / pratyekabuddhakāyaṃ ca ... / bodhisattvakāyaṃ ca ... / tathāgatakāyaṃ ca ... / jñānakāyaṃ ca ... / dharmakāyaṃ ca ... / ākāśakāyaṃ ca prajānāti / sa sattvānāṃ cittāśayābhinirhāramājñāya yathākālaparipākavinayānatikramādākāṅkṣan sattvakāyaṃ svakāyamadhitiṣṭhati / evaṃ kṣetrakāyaṃ karmavipākakāyaṃ ...
ส สรฺวกายวิกลฺปาปคตะ กายสมตาปฺราปฺตะ (ตจฺจาสฺย กายสํทรฺศนมกฺษูณมวนฺธฺยํ จ สตฺตฺวปริปากวินยาย) ส สตฺตฺวกายํ จ ปฺรชานาติ / เกฺษตฺรกายํ จ ... / กรฺมวิปากกายํ จ ... / ศฺราวกกายํ จ ... / ปฺรตฺเยกพุทฺธกายํ จ ... / โพธิสตฺตฺวกายํ จ ... / ตถาคตกายํ จ ... / ชฺญานกายํ จ ... / ธรฺมกายํ จ ... / อากาศกายํ จ ปฺรชานาติ / ส สตฺตฺวานํา จิตฺตาศยาภินิรฺหารมาชฺญาย ยถากาลปริปากวินยานติกฺรมาทากางฺกฺษนฺ สตฺตฺวกายํ สฺวกายมธิติษฺฐติ / เอวํ เกฺษตฺรกายํ กรฺมวิปากกายํ ...

“พระองค์ทรงอยู่เหนือมโนทัศน์แห่งกายทั้งปวงแล้ว ทรงบรรลุความอุเบกขาต่อกายทั้งปวง (และทรงเข้าใจนิมิตแห่งกาย ที่เป็นหมัน และสุกงอมเพื่อสุกงอมแห่งสรรพสัตว์) พระองค์ทรงรับรู้กายแห่งสรรพสัตว์... กายทุ่ง .. กายแห่งกรรม... กายสาวก... กายพระพุทธเจ้าผู้เดียวดาย... กายพระโพธิสัตว์... กายของตถาคต... กายความรู้... กายธรรม... กายอวกาศ เข้าใจความปรากฏแห่งจิตของสรรพสัตว์แล้วล่วงพ้นไปเพราะวินัยที่สุกงอมในเวลาอันสมควร พระองค์จึงทรงตั้งกายแห่งกายไว้เหนือกายของตนเอง เช่นเดียวกัน พระองค์ก็ทรงตั้งกายสนามเช่นเดียวกัน กายแห่งผลกรรม…”

"He, having transcended all conceptualizations of the body, attains equanimity towards all bodies (and understands the vision of bodies, the barren, and the ripe for the ripening of beings). He perceives the body of beings... the field body... the body of karmic fruition... the body of a disciple... the body of a solitary Buddha... the body of a Bodhisattva... the body of a Tathagata... the body of knowledge... the Dharma body... the space body. Understanding the manifestation of beings' mental dispositions and transcending them due to the discipline that ripens at the appropriate time, he establishes the body of beings above his own body. Likewise, he establishes the field body, the body of karmic fruition..."

๕.
rūpalakṣaṇānuvyañjanavicitrālaṃkārakāyatāṃ ca / prabhākāyatāṃ ca / manomayakāyatāṃ ca / puṇyakāyatāṃ ca / jñānakāyatāṃ ca / dharmakāyatāṃ ca prajānāti / jñānakāyānāṃ suvicāritatāṃ ca prajānāti / yathāvannistīraṇatāṃ ca phalaprayogasaṃgṛhītatāṃ (Dbh 46) ca laukikalokottaravibhāgatāṃ ca triyāṇavyavasthānatāṃ ca sādhāraṇāsādhāraṇatāṃ ca nairyāṇikānairyāṇikatāṃ ca śaikṣāśaikṣatāṃ ca prajānāti / dharmakāyānāṃ samatāṃ ca prajānāti / avikopanatāṃ ca avasthānasaṃketasaṃvṛttivyavasthānatāṃ ca sattvāsattvadharmavyavasthānatāṃ ca buddhadharmāryasaṃghavyavasthānatāṃ ca prajānāti /
รูปลกฺษณานุวฺยญฺชนวิจิตฺราลํการกายตํา จ / ปฺรภากายตํา จ / มโนมยกายตํา จ / ปุณฺยกายตํา จ / ชฺญานกายตํา จ / ธรฺมกายตํา จ ปฺรชานาติ / ชฺญานกายานํา สุวิจาริตตํา จ ปฺรชานาติ / ยถาวนฺนิสฺตีรณตํา จ ผลปฺรโยคสํคฤหีตตํา (ทฺภฺ ๔๖) จ ลอุกิกโลโกตฺตรวิภาคตํา จ ตฺริยาณวฺยวสฺถานตํา จ สาธารณาสาธารณตํา จ นอิรฺยาณิกานอิรฺยาณิกตํา จ ศอิกฺษาศอิกฺษตํา จ ปฺรชานาติ / ธรฺมกายานํา สมตํา จ ปฺรชานาติ / อวิโกปนตํา จ อวสฺถานสํเกตสํวฤตฺติวฺยวสฺถานตํา จ สตฺตฺวาสตฺตฺวธรฺมวฺยวสฺถานตํา จ พุทฺธธรฺมารฺยสํฆวฺยวสฺถานตํา จ ปฺรชานาติ /

รู้ว่าตถาคตกายเป็นกายประดับด้วยพุทธลักษณะและอนุพยัญชนะ ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นกายมีรัศมี| ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นมโนมยกาย ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นกายประกอบด้วยบุญ ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นญาณกาย ย่อมรู้ว่าตถาคตกายเป็นธรรมกาย ย่อมรู้ว่าญาณกายเป็นเครื่องพิจารณา ไตร่ตรองประกอบด้วยผลและเหตุ ต่างโดยความเป็นโลกียะและโลกุตตระ และกำหนดยานทั้งสาม เป็นสาธารณะและอสาธารณะ เป็นนิยานิกะและอนิยานิกะ (สภาพที่นำออกจากสังสารวัฏ) เป็นเสขะและอเสขะ  ย่อมรู้ว่าธรรมกายเป็นความเท่าเทียมกัน ไม่ถูกเบียดเบียน มีที่อยู่และอาการเป็นสิ่งกำหนดความมีอยู่ เป็นธรรมชาติมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต และเป็นสภาวะของพุทธะ ธรรมะ และอริยสงฆ์

Know that the Tathagata is a body decorated with Buddha characteristics and consonants. He knows that the Tathagata body is a radiant body. He knows that the Tathagata body is a manomaya body. He knows that the Tathagata body is a body endowed with merit. One knows that the Tathagata body is a knowledge body. One knows that the Tathagata is Dhammakaya. He knows that the body's perception is a consideration. Ponder consists of effects and causes. Different by being mundane and mundane. and determine the three vehicles It is public and non-public. It is Niyānika and Aniyaṇika. (The state of being removed from samsara) is Sekha and Asekha. You know that Dhammakaya is equality. Not being oppressed It has a place to live and symptoms determine its existence. It is naturally present in living things and non-living things. and is the state of the Buddha, Dhamma, and Noble Sangha.

๖.
bodhisattvacaryāsamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti / tathāgatabalavaiśāradyāveṇikabuddhadharmarūpakāyadharmakāyasamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti / sarvākārasarvajñajñānasamudāgamaṃ ca yathābhūtaṃ prajānāti /
โพธิสตฺตฺวจรฺยาสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ / ตถาคตพลวอิศารทฺยาเวณิกพุทฺธธรฺมรูปกายธรฺมกายสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ / สรฺวาการสรฺวชฺญชฺญานสมุทาคมํ จ ยถาภูตํ ปฺรชานาติ /

โพธิสัตว์จรรยา ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด (สมุทาคม) ตามความเป็นจริง. ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด คือตถาคตพละ เวสารัชชกรณธรรม อาเวณิกพุทธธรรม รูปกายและธรรมกาย ตามความเป็นจริง. ย่อมรู้ความเป็นไปทั้งหมด คือสรวชญาณพร้อมอาการทั้งปวง ตามความเป็นจริง.

Bodhisattva Ethics He knows all possibilities (Samudakam) as they really are. He knows all existence, that is, Tathagatapala, Vesarajakaraṇadhamma. Venik Phutthadhamma physical form and dhammakaya As a matter of fact. He knows all the possibilities. It is parasavajāya with all its symptoms. As a matter of fact.

ที่มา
https://th.wikipedia.org/wiki/ทศภูมิ

วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกาย ใน รัตนโคตรวิภาค มหายาโนตตรตันตระศาสตร์

หลักฐานธรรมกาย ใน รัตนโคตรวิภาค มหายาโนตตรตันตระศาสตร์


หลักฐานธรรมกาย ใน รัตนโคตรวิภาค มหายาโนตตรตันตระศาสตร์
            ธรรมทรรศน์ รวบรวม
ratnagotravibhāgo Mahāyānottaratantraśāstram究竟一乘寶性論
รตฺนโคตฺรวิภาโค มหายาโนตฺตรตนฺตฺรศาสฺตฺรมฺ

๑.ธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ ฯ เป็นชื่อของธรรมกาย | 
T 1611 Rm-Zs 821a26-27
舍利弗言。眾生界者。即是如來藏。舍利弗言。如來藏者。即是法身故。
Rgvbh 2.11-14 sattva-dhātur iti śāriputra tathāgatagarbhasyaitad adhivacanam | tathāgatagarbha iti śāriputra dharmakāyasyaitad adhivacanam | itidaṃ caturthaṃ vajrapadam anūnatvāpūrṇatvanirdeśaparivartānusāreṇānugantavyam |
Rgvbh ๒.๑๑-๑๔ สตฺตฺว-ธาตุรฺ อิติ ศาริปุตฺร ตถาคตครฺภสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ ฯ ตถาคตครฺภ อิติ ศาริปุตฺร ธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ ฯ อิติทํ จตุรฺถํ วชฺรปทมฺ อนูนตฺวาปูรฺณตฺวนิรฺเทศปริวรฺตานุสาเรณานุคนฺตวฺยมฺ ฯ 
      ดูก่อนสารีบุตร คำว่า สัตวธาตุ นี้ เป็นชื่อของตถาคตครรภ์  | ดูก่อนสารีบุตร คำว่า ตถาคตครรภ์ นี้ เป็นชื่อของธรรมกาย |

Tg phi 75a3-4 śā ri'i bu sems can gyi khams źes bya ba 'di ni | de bźin gśegs pa'i sñiṅ po'i tshig bla dags so || śā ri'i bu de bźin gśegs pa'i sñiṅ po źes bya ba 'di ni chos kyi sku'i tshig bla dags so źes rdo rje'i gnas bźi pa 'di ni 'grib pa med 4 pa daṅ 'phel ba med pa ñid bstan pa'i rjes su 'braṅs te rtogs par bya'o ||
Takasaki 143-144 The mass of living beings is, O Ṥāriputra, nothing but a synonym of the Matrix of the Tathāgata. The Matrix of the Tathāgata is, O Ṥāriputra, nothing but a synonym of the Absolute Body". Thus is the forth 'vajrapada' and is to be understood according to the Anūnatvāpūrṇatvanirdeśa­parivarta.

๒.ตถาคตธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ ฯ เป็นชื่อของธรรมกายของตถาคต  |
T 1611 Rm-Zs 821a27-b1 依菩提義故。經中說言。世尊言阿耨多羅三藐三菩提者。名涅槃界。世尊言。涅槃界者。即是法身故。

Rgvbh 3.1-3 anuttarā samyaksaṃbodhir iti bhagavan nirvāṇadhātor etad adhivacanam | nirvāṇadhātur iti bhagavan tathāgatadharmakāyasyaitad adhivacanam | itidaṃ pañcamaṃ vajrapadam āryaśrīmālāsūtrānusāreṇānugantavyam |
Rgvbh ๓.๑-๓ อนุตฺตรา สมฺยกฺสํโพธิรฺ อิติ ภควนฺ นิรฺวาณธาโตรฺ เอตทฺ อธิวจนมฺ ฯ นิรฺวาณธาตุรฺ อิติ ภควนฺ ตถาคตธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ ฯ อิติทํ ปญฺจมํ วชฺรปทมฺ อารฺยศฺรีมาลาสูตฺรานุสาเรณานุคนฺตวฺยมฺ ฯ 
    ข้าแต่พระผู้มีพระภาค คำว่า อนุตรสัมมาสัมโพธิ นี้เป็นชื่อของนิพพานธาตุ | ข้าแต่พระผู้มีพระภาค คำว่า นิพพานธาตุ นี้เป็นชื่อของธรรมกายแห่งพระตถาคต | ดังนั้น วัชรบทที่ 5 นี้ พึงเข้าใจตามเนื้อหาของอารยศรีมาลาสูตร |

Blessed One, the word anuttarasammāsambodhi This is the name of the nirvana element. | Blessed One, the word nirvana element is the name of the Dhammakaya of the Tathagata. | Therefore, this Vajra Chapter 5 should be understood according to the contents of the Aryasrimala Sutta. |

Tg phi 75a4-5 bcom ldan 'das bla na med pa yaṅ dag par rdzogs pa'i byaṅ chub ces bya ba 'di ni mya ṅan las 'das pa'i dbyiṅs kyi tshig bla dags so || bcom ldan 'das mya ṅan las 'das pa'i dbyiṅs 5 źes bgyi ba 'di ni de bźin gśegs pa'i chos kyi sku'i tshig bla dags so źes rdo rje'i gnas lṅa pa 'di ni | 'phags pa dpal phreṅ gi mdo'i rjes su 'braṅs te rtogs par bya'o ||
Takasaki 144 'Bodhi': "O Lord, the Supreme Perfect Enlightenment is a synonym of the Sphere of the Nirvāṇa. Sphere of the Nirvāṇa is nothing but a synonym of the Absolute Body of the Tathāgata". Thus is the fifth Vajrapada which is to be understood according to the Ārya Írīmālā-sūtra.
๓.ธรฺมกายะ
T 1611 Rm-Zs 821b1-7 依功德義故。如來經中告舍利弗言。舍利弗。如來所說法身義者。過於恆沙不離不脫不思議佛法如來智慧功德。舍利弗。如世間燈。明色及觸不離不脫。又如摩尼寶珠。明色形相不離不脫。舍利弗。法身之義亦復如是。過於恆沙不離不脫不思議佛法如來智慧功德故。

Rgvbh 3.4-6 yo 'yaṃ śāriputra tathāgatanirdiṣṭo dharmakāyaḥ so 'yam avinirbhāgadharmā | avinirmuktajñānaguṇo yad uta gaṅgānadīvālikāvyatikrāntais tathāgatadharmaiḥ | itidaṃṣaṣṭhaṃ vajrapadam anūnatvāpūrṇatvanirdeśānusāreṇānugantavyam |
Rgvbh ๓.๔-๖ โย 'ยํ ศาริปุตฺร ตถาคตนิรฺทิษฺโฏ ธรฺมกายะ โส 'ยมฺ อวินิรฺภาคธรฺมา ฯ อวินิรฺมุกฺตชฺญานคุโณ ยทฺ อุต คงฺคานทีวาลิกาวฺยติกฺรานฺไตสฺ ตถาคตธรฺไมะ ฯ อิติทํษษฺฐํ วชฺรปทมฺ อนูนตฺวาปูรฺณตฺวนิรฺเทศานุสาเรณานุคนฺตวฺยมฺ ฯ

(ธรรมกายนี้)มีคุณสมบัติคือญาณที่ไม่ได้นอกเหนือ(จากธรรมของพระตถาคต) กล่าวคือ (ไม่นอกเหนือ) จากธรรมของพระตถาคตอันมีจำนวนยิ่งกว่าเม็ดทรายในคงคานที |

(This Dhammakaya) has the quality of knowledge that is not apart (from the Dhamma of the Tathagata), that is, (not apart from) the Dhamma of the Tathagata, which is more numerous than the grains of sand in the Ganga. |

Tg phi 75a5-7 śā ri'i bu de bźin gśegs pas bstan pa'i chos kyi sku gaṅ yin pa de ni 'di 6 lta ste | gaṅ gā'i kloṅ gi bye ma sñed las 'das pa'i de bźin gśegs pa'i chos dag daṅ | rnam par dbyer med pa'i chos daṅ ldan pa ma bral ba'i ye śes kyi yon tan can yin no źes rdo rje'i gnas drug pa 'di ni 'grib pa med ciṅ 'phel ba med pa ñid bstan pa'i rjes su 7 'braṅs nas rtogs par bya'o |

Takasaki 144-45 'Guṇa': "O Ṥāriputra, that which is called Absolute Body, preached by the Tathāgata, is of indivisible nature, of qualities inseparable from the Wisdom, that is to say, [indivisible from or endowed] with the properties of the Buddha which far supass the particles of sands of the Gaṅgā in number". This is the sixth Varjrapada and is to be understood according to the Anūnatvāpūrṇatvanirdeśa.

๔.อสํสฺกฤตธรฺมกายปฺรภาวิตํ 
T 1611 Rm-Zs 822c14-17 此偈明何義。遠離有為。名為無為。應知又有為者。生住滅法。無彼有為。是故佛體。非初中後。故得名為無為法身。應知偈言。佛體無前際。及無中間際。亦復無後際故。

Rgvbh 8.7-9 saṃskṛtaviparyayeṇāsaṃskṛtaṃ veditavyam | tatra saṃskṛtam ucyate yasyotpādo 'pi prajñāyate sthitir api bhaṅgo 'pi prajñāyate | tadabhāvād buddhatvam anādimadhyanidhanam asaṃskṛtadharmakāyaprabhāvitaṃ draṣṭavyam |
Rgvbh ๘.๗-๙ สํสฺกฤตวิปรฺยเยณาสํสฺกฤตํ เวทิตวฺยมฺ ฯ ตตฺร สํสฺกฤตมฺ อุจฺยเต ยสฺโยตฺปาโท 'ปิ ปฺรชฺญายเต สฺถิติรฺ อปิ ภงฺโค 'ปิ ปฺรชฺญายเต ฯ ตทภาวาทฺ พุทฺธตฺวมฺ อนาทิมธฺยนิธนมฺ อสํสฺกฤตธรฺมกายปฺรภาวิตํ ทฺรษฺฏวฺยมฺ ฯ

ในคำว่าสังกฤตะนั้น การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และการดับไป ย่อมปรากฏแก่สิ่งใด สิ่งนั้น ท่านเรียกว่า สังกฤตะ | เพราะไม่มีสภาวะดังกล่าวนั้น ความเป็นพระพุทธเจ้า(พุทธตวะ) พึงทราบว่า ไม่มีเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุด และถูกแสดงว่าเป็นธรรมกายที่เป็นอสังสกฤตะ I

In the word sakrita, whatever arising, remaining and passing away appears, that thing is called sakrita | because there is no such state. Buddhahood (Buddha Tava) should be known to have no basis. among and at the end and is shown to be the Dhammakaya which is Asansakrita 
Tg phi 78a1-2 'dus ma byas ni 'dus byas las bzlog par śes par bya'o || de la 'dus byas ni gaṅ la skye ba yaṅ rab tu śes śiṅ | gnas pa daṅ 2 'jig pa yaṅ rab tu śes pa ni 'dus byas źes brjod la || de med pa'i phyir saṅs rgyas ñid thog ma daṅ dbus daṅ tha ma med pa dus ma byas pa | chos kyi skus rab tu phye bar blta bar bya'o ||
Takasaki 156-57 1) asaṃskṛta: The word 'immutable' should be understood as being opposite to being conditioned or caused. Here 'being conditioned' means the thing, of which origination, lasting, as well as destruction are conceivable. Because of the absence of these characteristics, the Buddhahood should be seen as having neither beginning, middle nor end, and being represented as the immutable Absolute Body.

๕.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 824a5-8 又滅諦云何不二法者。及云何無分別者。如不增不減經中如來說言。舍利弗如來法身清涼。以不二法故。以無分別法故。

Rgvbh 12.1-2 tatra nirodhasatyasya katham advayatā nirvikalpatā ca veditavyā | yathoktaṃ bhagavatā | śivo 'yaṃ śāriputra dharmakāyo 'dvayadharmāvikalpadharmā |
Rgvbh ๑๒.๑-๒ ตตฺร นิโรธสตฺยสฺย กถมฺ อทฺวยตา นิรฺวิกลฺปตา จ เวทิตวฺยา ฯ ยโถกฺตํ ภควตา ฯ ศิโว 'ยํ ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย 'ทฺวยธรฺมาวิกลฺปธรฺมา ฯ

ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ สงบ มีธรรมชาติไม่เป็นสอง(อทวิธรรม) และมีธรรมชาติที่อธิบายไม่ได้ | ในคำนั้น (นิโรธสัตยะ] เป็นสภาวะที่มีความเป็นสอง หมายถึง กรรมและกิเลส See, Sriputta, this Dhammakaya is calm, has a non-dual nature (adavidhamma), and has a nature that cannot be explained. | In that word [nirodhasatya] is a state of duality, meaning karma and defilements. (RevI, p.12)

Tg phi 80b1-2 de la 'gog pa'i bden ba ji ltar na gñis su med pa ñid daṅ | rnam par rtog pa med pa ñid du rig par bya źe na | bcom ldan 'das kyis ji skad du gsuṅs pa bźin te | śā ri'i bu 'gog pa źes bya ba 'di chos kyi sku ste | gñis su med pa'i chos can rnam par mi rtog 2 pa'i chos so źe'o ||
Takasaki 166 2) advayatā & 3) nirvikalpatā. How should here be understood non-duality and non­discriminativeness of the Truth of Extinction? It is taught by the Lord as follows: "O Ṥāriputra, quiescent is this Absolute Body [of the Buddha], having the nature of being non-dual and non-discriminative".
๖.ตถาคตธรฺมกาโย
ทุะขนิโรธนามฺนา ภควนฺนนาทิกาลิโก'กฤโต'ชาโต'นุตฺปนฺโน'กฺษยะ กฺษยาปคตะ นิตฺโย ธฺรุวะ ศิวะ ศาศฺวตะ ปฺรกฤติปริศุทฺธะ สรฺวเกฺลศโกศวินิรฺมุกฺโต คงฺคาวาลิกาวฺยติวฤตฺไตรวินิรฺภาไครจินฺตฺไยรฺพุทฺธธรฺไมะ สมนฺวาคตสฺตถาคตธรฺมกาโย เทศิตะฯ อยเมว จ ภควํสฺตถาคตธรฺมกาโย'วินิรฺมุกฺตเกฺลศโกศสฺตถาคตครฺภะ สูจฺยเตฯ
ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ด้วยคำว่าทุกขนิโรธ ท่านแสดงธรรมกายของตถาคตนั้น ไม่จำกัดกาล ไม่ถูกกระทำ ไม่มีการเกิด ไม่มีการอุบัติ ไม่ถูกทำให้สิ้น ปราศจากการทำลาย เที่ยง ยั่งยืน สงบ ยืนนาน บริสุทธิ์โดยธรรมชาติ พ้นจากการห่อหุ้มคือกิเลสทั้งปวง ประกอบด้วยพุทธธรรมอันมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในคงคานที ที่จำแนกไม่ได้ และที่เป็นอจินไตย

O Blessed One, With the word dukkhanirodha He demonstrated that the Dhammakaya of the Tathagata is timeless, not subject to action, not born, not arising. not be put to an end Free from destruction, timeless, enduring, peaceful, long-lasting, pure by nature. Free from envelopment are all defilements. It contains Buddhadharma that is more numerous than the grains of sand in the Ganga. indistinguishable and that is imaginary


๖.ตถาคตธรฺมกายสฺย
T 1611 Rm-Zs 824a23-25 又以何因得此滅諦如來法身。謂於見道及修道中無分別智三種日。相似相對法應知。偈言。彼真妙法日故。何等為三。

Rgvbh 12.16-17 asya khalu duḥkhanirodhasaṃjñitasya tathāgatadharmakāyasya prāptihetur avikalpa- jñānadarśanabhāvanāmārgas trividhena sādharmyeṇa dinakarasadṛśaḥ veditavyaḥ |

Rgvbh ๑๒.๑๖-๑๗ อสฺย ขลุ ทุะขนิโรธสํชฺญิตสฺย ตถาคตธรฺมกายสฺย ปฺราปฺติเหตุรฺ อวิกลฺป- ชฺญานทรฺศนภาวนามารฺคสฺ ตฺริวิเธน สาธรฺมฺเยณ ทินกรสทฤศะ เวทิตวฺยะ ฯ

Tg phi 81a2-3 sdug bsṅal 'gog pa'i miṅ can de bźin gśegs pa'i chos kyi sku 'di thob pa'i rgyu rnam par mi rtog pa'i ye śes mthoṅ ba daṅ | sgom pa'i lam ni chos mthun pa rnam pa gsum ñid kyis ñi ma daṅ 'dra bar rig par bya ste |
Takasaki 168 (§4. The Doctrine as the Truth of Path.) 4) śuddhi, 5) abhivyaktikaraṇa & 6) pratipakṣatā: Now indeed, the way to attain the Absolute Body of Tathāgata named Extinction of Suffering is the Path of perception and practice based upon the non discriminative Wisdom. And this [Path] is to be known as similar to the sun with threefold common characteristics.

๗. ตถาคตธรฺมกาโย 'ธรรมกายแห่งตถาคต
T 1611 Rm-Zs 824a16-22 是故聖者勝鬘經言。世尊。非滅法故名苦滅諦。世尊。所言苦滅者。名無始無作無起無盡離盡。常恆清涼不變自性清淨。離一切煩惱藏所纏。世尊過於恆沙。不離不脫不異不思議佛法畢竟成就。說如來法身。世尊。如是如來法身不離煩惱藏所纏。名如來藏。

Rgvbh 12.10-14 yathoktam | na khalu bhagavan dharmavināśo duḥkhanirodhaḥ | duḥkha nirodhanāmnā bhagavann anādikāliko 'kṛto 'jāto 'nutpanno 'kṣayaḥ kṣayāpagataḥ nityo dhruvaḥśivaḥ śāśvataḥ prakṛtipariśuddhaḥ sarvakleśakośavinirmukto gaṅgāvālikā vyativṛttair avinirbhāgair acintyair buddhadharmaiḥ samanvāgatas tathāgatadharmakāyo deśitaḥ | ayam eva ca bhagavaṃs tathāgatadharmakāyo 'vinirmuktakleśakośas tathāgatagarbhaḥ sūcyate
Rgvbh ๑๒.๑๐-๑๔ ยโถกฺตมฺ ฯ น ขลุ ภควนฺ ธรฺมวินาโศ ทุะขนิโรธะ ฯ ทุะข นิโรธนามฺนา ภควนฺนฺ อนาทิกาลิโก 'กฤโต 'ชาโต 'นุตฺปนฺโน 'กฺษยะ กฺษยาปคตะ นิตฺโย ธฺรุวะศิวะ ศาศฺวตะ ปฺรกฤติปริศุทฺธะ สรฺวเกฺลศโกศวินิรฺมุกฺโต คงฺคาวาลิกา วฺยติวฤตฺไตรฺ อวินิรฺภาไครฺ อจินฺตฺไยรฺ พุทฺธธรฺไมะ สมนฺวาคตสฺ ตถาคตธรฺมกาโย เทศิตะ ฯ อยมฺ เอว จ ภควํสฺ ตถาคตธรฺมกาโย 'วินิรฺมุกฺตเกฺลศโกศสฺ ตถาคตครฺภะ สูจฺยเต

ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ด้วยคำว่าทุกขนิโรธ ท่านแสดงธรรมกายของพระตถาคตนั้น ไม่จำกัดกาล ไม่ถูกกระทำ ไม่มีการเกิด ไม่มีการอุบัติ ไม่ถูกทำให้สิ้น ปราศจากการทำลาย เที่ยง ยั่งยืน สงบ ยืนนาน บริสุทธิ์โดยธรรมชาติ พ้นจากการห่อหุ้มคือกิเลสทั้งปวงประกอบด้วยพุทธธรรมอันมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในคงคานที ที่จำแนกไม่ได้ และที่เป็นอจินไตย

O Blessed One, With the word dukkhanirodha He demonstrated that the Dhammakaya of the Tathātat is timeless, not subject to action, not born, not arising. not be put to an end Free from destruction, timeless, enduring, peaceful, long-lasting, pure by nature. Escaped from enveloping, all defilements contain Buddhadharma that is more numerous than the grains of sand in the Ganga. indistinguishable and that is imaginary

Tg phi 80b5-81a1 bcom ldan 'das chos 6 'jig pa ni sdug bsṅal 'gog pa ma lags so || bcom ldan 'das sdug bsṅal 'gog pa źes bgyi ba ni | thog ma med pa'i dus can || ma byas pa || ma skyes pa || ma byuṅ ba | zad ba med pa | zad pa daṅ bral ba | rtag pa | brtan pa | źi ba | mi 'jig pa | 7 raṅ bźin gyis yoṅs su dag pa | ñon moṅs pa'i sbubs thams cad las grol ba | rnam par dbyer med pa || bsam gyis mi khyab pa'i saṅs rgyas kyi chos gaṅ gā'i kluṅ gi bye ma las 'das pa daṅ ldan pa de bźin gśegs pa'i chos kyi skur bstan pa ste | bcom 1 || ldan 'das de bźin gśegs pa'i chos kyi sku 'di ñid ñon moṅs pa'i sbubs las ma grol ba ni de bźin gśegs pa'i sñiṅ po źes bgyi'o//
Takasaki 167-68 Also said [in the scripture]: "O Lord, extinction of Suffering does not mean the disappearance of element. By the term, 'Extinction of Suffering', O Lord, there is designated the Absolute Body of the Tathāgata which is beginningless, immutable, of no birth, non-originated, of no destruction, free from destruction, eternal, constant, quiescent, everlasting, purified by nature, released from covering of all moral defilements, and endowed with inseparable and unthinkable qualities of the Buddha, which are far more than the sands of the Ganga in number. And this very Absolute Body of the Tathāgata, O Lord, [when it is] unreleased from the covering of moral defilements, is called the Matrix of Tathāgata."
๘.ธรฺมกายปฺราปฺติเหตุรฺ 
T 1611 Rm-Zs 824b21-25 又此得滅諦如來法身。因於見道 9中及修道中無分別智。廣說如摩訶般若波羅蜜等。修多羅中言。須菩提。真如如來真如平等無差別。如是等應知。
Rgvbh 13.19-20 sa khalv eṣa dharmakāyaprāptihetur avikalpajñānadarśanabhāvanāmārgo vistareṇa yathāsūtraṃ prajñāpāramitānusāreṇānugantavyaḥ |
Rgvbh ๑๓.๑๙-๒๐ ส ขลฺวฺ เอษ ธรฺมกายปฺราปฺติเหตุรฺ อวิกลฺปชฺญานทรฺศนภาวนามารฺโค วิสฺตเรณ ยถาสูตฺรํ ปฺรชฺญาปารมิตานุสาเรณานุคนฺตวฺยะ ฯ

ส ขลฺเวษ ธรฺมกายปฺราปฺติเหตุรวิกลฺปชฺญานทรฺศนภาวนามารฺโค วิสฺตเรณ ยถาสูตฺรํ ปฺรชฺญาปารมิตานุสาเรณานุคนฺตวฺยะฯ

Tg phi 81b6 chos kyi sku 'thob pa'i rgyu rnam par rtog pa med pa'i ye śes mthoṅ ba daṅ sgom pa'i lam de yaṅ rgyas par ni śes rab kyi pha rol tu phyin pa'i rjes su 'braṅs te mdo ji lta ba bźin rtogs par bya'o ||
Takasaki 171 And because of the origination of this enemy, there is absolutely no association nor harmony of the obstacles. This is indeed the Path of perception and practice based upon the non-discriminative Wisdom, which is the cause of attaining the Absolute Body [of the Tathāgata] and which is to be understood in detail according to the Sūtra named Prajnāpāramitā.

๙.วิราคธรฺมกายตฺวาทฺ
T 1611 Rm-Zs 826b28-c1 此偈明何義。如向所說。諸佛如來不生不滅寂靜不二。離垢法身故。以 8唯一法身究竟清淨處故。又三乘之人無有救者。
Rgvbh 19.6-anena tu pūrvoktena vidhinānutpādānirodhaprabhāvitasya munervyavadānasatyadvayavirāgadharmakāyatvād dharmakāyaviśuddhiniṣṭhādhigamaparyavasānatvācca traiyānikasya gaṇasya pāramārthikamevātrāṇe'śaraṇe loke'parāntakoṭisamamakṣayaśaraṇaṃ nityaśaraṇaṃ dhruvaśaraṇaṃ yaduta tathāgatā arhantaḥ samyaksaṃbuddhāḥ|
Rgvbh ๑๙.๖-อเนน ตุ ปูรฺโวกฺเตน วิธินานุตฺปาทานิโรธปฺรภาวิตสฺย มุเนรฺวฺยวทานสตฺยทฺวยวิราคธรฺมกายตฺวาทฺ ธรฺมกายวิศุทฺธินิษฺฐาธิคมปรฺยวสานตฺวาจฺจ ไตฺรยานิกสฺย คณสฺย ปารมารฺถิกเมวาตฺราเณ'ศรเณ โลเก'ปรานฺตโกฏิสมมกฺษยศรณํ นิตฺยศรณํ ธฺรุวศรณํ ยทุต ตถาคตา อรฺหนฺตะ สมฺยกฺสํพุทฺธาะฯ

ตามวิธีที่ได้กล่าวไว้ก่อนแล้วนี้ เพราะความที่แห่งมุนีผู้กระทำให้แจ้งนิโรธ (การดับ) โดยไม่มีการเกิดขึ้นอีก มีธรรมกายที่ปราศจากราคะอันมีลักษณะของความจริงอันนำไปสู่ความบริสุทธิ์ 2 ประการ (ได้แก่ มรรคสัตยะ และนิโรธสัตยะ) และเพราะหมู่ (ของอริยสงฆ์) ผู้ดำรงอยู่ในยานสามนี้มีการบรรลุถึงเป้าหมายอันสูงสุดคือความบริสุทธิ์ของธรรมกายเป็นปริโยสาน (ความเป็นพระพุทธเจ้า) ที่เป็นเป้าหมายอันสูงสุด ได้แก่ ที่พึ่งที่ไม่สิ้นสุด ที่พึ่งที่เที่ยง ที่พึ่งที่ยั่งยืน ที่เสมอด้วยที่สุดอันหาขอบเขตมิได้ ในโลกที่ขาดการช่วยเหลือและขาดที่พึ่ง สิ่งที่ท่านกล่าวมานั้น หมายถึง พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า |

According to the method mentioned before. Because of the power of the sage who caused it to cause Nirodha (extinction) without recurrence. There is a lust-free Dhammakaya that has the characteristics of two truths leading to purity (i.e., the Sattaya Path and Nirodhasatya). And because the group (of the Noble Sangha) who lives in these three vehicles has attained the ultimate goal. The highest is the purity of the Dhammakaya. (Buddhahood) that is the highest goal is an endless refuge. Refuge at noon sustainable refuge that is equal to the limitless end In a world where there is no help and no refuge What he said refers to the Tathagata, Arahant, Fully Enlightened Buddha |

Tg phi 84b6-7 'dis ni sṅar bśad pa'i tshul gyis skye ba med pa daṅ | 'gag pa med pas rab tu phye ba'i thub pa rnam par byaṅ ba'i bden pa gñis kyi mtshan ñid 'dod chags daṅ bral ba'i chos 7 kyi sku can yin pa'i phyir daṅ | theg pa gsum po'i tshogs kyaṅ chos kyi sku rnam par dag pa mthar thug pa thob pas mthar phyin par 'gyur ba'i phyir na |
Takasaki 184 As has been said before, the Sage, represented as neither becoming originated nor disappearing, is endowed with the body of the Doctrine, liberated from passions and [characterized] as the Two Truths of purification (i.e. the Truth of Path and the Truth of Extinction), and in the purity of this Body of the Doctrine (= the Absolute Body, dharmakāya), the Community [of the Saints] belonging to the three Vehicles sets the ultimate goal of acquisition.

๑๐.ตถาคตธรฺมกาย
T 1611 Rm-Zs 827a1-6 此偈明何義。真如有雜垢者。謂真如佛性未離諸煩惱所纏。如來藏故。及遠離諸垢者。即彼如來藏轉身到佛地得證法身。名如來法身故。佛無量功德者。即彼轉身如來法身相中。所有出世間十力無畏等。一切諸功德無量無邊故。
Rgvbh 21.8-11 tatra samalā tathatā yo dhātur avinirmuktakleśakośas tathāgatagarbha ity ucyate | nirmalā tathatā sa eva buddhabhūmāv āśrayaparivṛttilakṣaṇo yas tathāgatadharmakāya ity ucyate | vimalabuddhaguṇā ye tasminn evāśrayaparivṛttilakṣaṇe tathāgatadharmakāye lokottarā daśabalādayo buddhadharmāḥ |
Rgvbh ๒๑.๘-๑๑ ตตฺร สมลา ตถตา โย ธาตุรฺ อวินิรฺมุกฺตเกฺลศโกศสฺ ตถาคตครฺภ อิตฺยฺ อุจฺยเต ฯ นิรฺมลา ตถตา ส เอว พุทฺธภูมาวฺ อาศฺรยปริวฤตฺติลกฺษโณ ยสฺ ตถาคตธรฺมกาย อิตฺยฺ อุจฺยเต ฯ วิมลพุทฺธคุณา เย ตสฺมินฺนฺ เอวาศฺรยปริวฤตฺติลกฺษเณ ตถาคตธรฺมกาเย โลโกตฺตรา ทศพลาทโย พุทฺธธรฺมาะ ฯ

ตถตาที่ไม่มีมลทิน ก็คือ ธาตุอันเดียวกันนั่นเอง ที่มีลักษณะเป็นการปรากฎชัดเจนแห่งจุดเริ่มต้น (อาศัย) ในพุทธภูมิ สิ่งนั้น ท่านเรียกว่า ธรรมกายแห่งพระตถาคต

The unblemished Tathatā is the same element. which has the characteristic of being a clear manifestation of the beginning (dwelling) in the Buddha realm, that is called the Dhammakaya of the Tathagata.

Tg phi 85b1-3 de la dri ma daṅ bcas pa'i de bźin ñid ni ñon moṅs pa'i sbubs las ma grol ba'i khams la de bźin gśegs pa'i sñiṅ po źes brjod pa gaṅ yin pa'o || dri ma med pa'i de 2 bźin ñid ni de ñid saṅs rgyas kyi sar gnas yoṅs su gyur pa'i mtshan ñid de bźin gśegs pa'i chos kyi sku źes brjod pa gaṅ yin pa'o || dri ma med pa'i saṅs rgyas kyi yon tan ni gnas gyur pa'i mtshan ñid de bźin gśegs pa'i chos kyi sku de ñid la yod pa 'jig rten 3 las 'das pa stobs bcu la sogs pa saṅs rgyas kyi chos gaṅ dag yin pa'o ||
Takasaki 187 Here, 1) 'The Reality mingled with pollution' is a term for 'the Essence, unreleased from the sheath of defilements', i.e. the Matrix of Tathāgata. 2) 'The Reality apart from pollution' is a term for the same Essence, when it is characterized as the Perfect Manifestation of Basis in the Stage of Buddha,
i.e. the Absolute Body of the Tathāgata. 3) 'Immaculate Qualities of the Buddha' means Supermundane Qualities of the Buddha - 10 Powers and so on - in this Absolute Body of the Tathāgata, characterized as the Perfect Manifestation of Basis. 4)
๑๑.ตถาคตธรฺมกายปริสฺปรณารฺเถน
T 1611 Rm-Zs 828b1-11 此偈明何義。有三種義。是故如來說一切時一切眾生有如來藏。何等為三。一者如來法身遍在一切 7諸眾生身。偈言 8法身9滿故。二者 10如來真如無差別。偈言 11真如無差別故。三者一切眾生皆悉實有真如佛性。偈言皆實有佛性故。此三句義。自 12此下論依如來藏修多羅。我後時說應知。如偈本言一切眾生界 不離諸佛智以彼淨無垢 性體不二故依一切諸佛 平等法性身知一切眾生 皆有如來藏

Rgvbh 26.7-11 samāsatas trividhenārthena sadā sarvasattvās tathāgatagarbhā ity uktaṃ bhagavatā | yad uta sarvasattveṣu tathāgatadharmakāyaparisparaṇārthena tathāgatatathatāvyatibhedārthena tathāgatagotrasaṃbhavārthena ca | eṣāṃ punas trayāṇām arthapadānām uttaratra tathāgatagarbhasūtrānusāreṇa nirdeśo bhaviṣyati | pūrvataraṃ tu yenārthena sarvatrāviśeṣeṇa pravacane sarvākāraṃ tadarthasūcanaṃ bhavati tad apy adhikṛtya nirdekṣyāmi |
Rgvbh ๒๖.๗-๑๑ สมาสตสฺ ตฺริวิเธนารฺเถน สทา สรฺวสตฺตฺวาสฺ ตถาคตครฺภา อิตฺยฺ อุกฺตํ ภควตา ฯ ยทฺ อุต สรฺวสตฺตฺเวษุ ตถาคตธรฺมกายปริสฺปรณารฺเถน ตถาคตตถตาวฺยติเภทารฺเถน ตถาคตโคตฺรสํภวารฺเถน จ ฯ เอษํา ปุนสฺ ตฺรยาณามฺ อรฺถปทานามฺ อุตฺตรตฺร ตถาคตครฺภสูตฺรานุสาเรณ นิรฺเทโศ ภวิษฺยติ ฯ ปูรฺวตรํ ตุ เยนารฺเถน สรฺวตฺราวิเศเษณ ปฺรวจเน สรฺวาการํ ตทรฺถสูจนํ ภวติ ตทฺ อปฺยฺ อธิกฤตฺย นิรฺเทกฺษฺยามิ ฯ

โดยย่อ ด้วยความหมายทั้ง 3 ประการ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า สรรพสัตว์ทั้งปวงเป็นผู้มีตถาคตครรภ์ ตลอดเวลา | กล่าวคือ ด้วยความหมายว่าธรรมกายแห่งพระตถากตแผ่ซ่านอยู่ในสรรพสัตว์ ด้วยความหมายว่าตถตา(ความจริง)แห่งพระตถาคตมีธรรมชาติทำให้ ไม่เปลี่ยนแปลง (มีอยู่ในสรรพสัตว์)  และด้วยความหมายว่าโคตรแห่งพระตถาคตมีอยู่ (ในสรรพสัตว์) |

In short, with all three meanings, the Lord Buddha said: All living beings are Tathagata pregnant all the time. | That is, in the sense that the Dhammakaya of the Tathakata pervades all living beings. with the meaning that the Tathāta (truth) of the Tathagata has a nature that makes unchanged (It exists in all living beings) and in the sense that the Tathagata's lineage exists. (in animals) |

Tg phi 88a6-88b2 mdor bsdun na don rnam pa gsum gyis sems can thams cad ni rtag tu de bźin gśegs pa'i sñiṅ po can no źes bcom ldan 'das kyis gsuṅs te | saṅs rgyas ye śes sems can tshogs źugs phyir || raṅ bźin dri med 7 de ni gñis med de || saṅs rgyas rigs la de 'bras ñer brtags phyir ||  'gro kun saṅs rgyas sñiṅ po can du gsuṅs || don de rnam pa thams cad don gaṅ gis gsuṅs rab thams cad du khyad par med par bstan par 'gyur ba de'i dbaṅ du byas te bśad par 1 bya'o || 'di lta ste | sems can thams cad la de bźin gśegs pa'i chos kyi skus 'phro ba'i don daṅ | de bźin gśegs pa'i de bźin ñid rnam par dbyer med pa'i don daṅ | de bźin gśegs pa'i rigs yod pa'i don gyis so || don gyi gnas gsum po 2 'di dag kyaṅ de bźin gśegs pa'i sñiṅ po'i mṅo'i rjes su 'braṅs te 'og nas ston par 'gyur ro ||
Takasaki 198 In short, by three kinds of meaning, it is said by the Lord that all living beings are always possessed of the Matrix of Tathāgata. That is to say, by the following three meanings: the Absolute Body of the Tathāgata penetrates all living beings; the Tathāgata being the Reality, is the undifferentiated whole; and there exists the Germ of the Tathāgata [in every living being]. And of these three subjects, the [detailed] explanation will be made below according to the Tathāgatagarbha-sūtra. Prior to it, however, there is [another] meaning by which this meaning in all its aspects is indicated in the Scripture with no variance anywhere. With reference to that as well, I shall now explain.
๑๒.ตถาคตธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 828b28-29 此明何義。思者依如來法身。所思所修皆悉成就故。

Rgvbh 27.5-7 tatra tathāgatadharmakāye tāvac cintitārthasamṛddhyādiprabhāvasvabhāvatāṃ svalakṣaṇam ārabhya cintāmaṇiratnasādharmyaṃ veditavyam |
Rgvbh ๒๗.๕-๗ ตตฺร ตถาคตธรฺมกาเย ตาวจฺ จินฺติตารฺถสมฤทฺธฺยาทิปฺรภาวสฺวภาวตํา สฺวลกฺษณมฺ อารภฺย จินฺตามณิรตฺนสาธรฺมฺยํ เวทิตวฺยมฺ ฯ

Tg phi 88b7-89a1 de la re źig de bźin gśegs pa'i chos kyi sku la ni bsam pa'i don grub pa la sogs pa mthu'i ṅo bo ñid raṅ gi mtshan ñid las bsams nas yid 1 || bźin gyi nor bu daṅ chos mthun pa ñid du rig par bya'o ||
Takasaki 201 Now, first of all, a resemblance to the wish-fulfilling jewel is to be known of the Absolute Body of the Tathāgata, with reference to its particular characteristic, the own nature of powers, fulfillment of desired objects etc.
๑๓.นิรุตฺตรารฺถธรฺมกายวิศุทฺธิปรมตามฺ
T 1611 Rm-Zs 829a28-b4 是名四種障。障四種眾生。為對治彼四種障故。諸菩薩摩訶薩信修行大乘等四種對治法。得無上清淨法 5身。到第一彼岸。何以故。依此四種清淨法界修習善法。此是諸佛隨順法子於佛家生。是故偈言

Rgvbh 29.15-18 etac caturvidham āvaraṇam eṣāṃ caturvidhānāṃ sattvānāṃ yasya pratipakṣān imāṃś caturo 'dhimuktyādīn bhāvayitvā bodhisattvā niruttarārthadharmakāyaviśuddhiparamatām adhigacchanty ebhiś ca viśuddhisamudāgamakāraṇaiś caturbhir anugatā dharmarājaputrā bhavanti tathāgatakule | katham iti |
Rgvbh ๒๙.๑๕-๑๘ เอตจฺ จตุรฺวิธมฺ อาวรณมฺ เอษํา จตุรฺวิธานํา สตฺตฺวานํา ยสฺย ปฺรติปกฺษานฺ อิมําศฺ จตุโร 'ธิมุกฺตฺยาทีนฺ ภาวยิตฺวา โพธิสตฺตฺวา นิรุตฺตรารฺถธรฺมกายวิศุทฺธิปรมตามฺ อธิคจฺฉนฺตฺยฺ เอภิศฺ จ วิศุทฺธิสมุทาคมการไณศฺ จตุรฺภิรฺ อนุคตา ธรฺมราชปุตฺรา ภวนฺติ ตถาคตกุเล ฯ กถมฺ อิติ ฯ

ย่อมบรรลุถึงความบริสุทธิ์สูงสุดและความจริงสูงสุดคือธรรมกาย

One attains the highest purity and highest truth, namely Dhammakaya.

Tg phi 90a6-7 gaṅ gi gñen bor mos pa la sogs pa'i chos 'di bźi bsgoms nas byaṅ chub sems dpa' rnams bla na med pa'i don chos kyi sku 7 rnam par dag pa mthar phyin pa thob par 'gyur ba sems can rnam pa 'di bźi'i sgrib pa ni rnam pa bźi po 'di dag yin no || rnam par dag pa bźi 'grub pa'i rgyu bźi po 'di dag daṅ ldan pa ni de bźin gśegs pa'i rigs su chos kyi rgyal po'i sras su 'gyur ro || ji ltar źe na |

Takasaki 206 These are the four kinds of Obstructions of the four kinds of living beings. And having practised the four kinds of Antidotes to these Obstructions, i.e. the faith [in the Doctrine of the Great Vehicle] etc., the Bodhisattvas attain the highest purity, the highest truth, i.e. the Absolute Body. And, accompanied by these four causes of origination of purity, they become the sons of the Religious King in the Buddha's family. How are they? It is said:

๑๔.ธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 829b11-13 此初半偈示現何義。偈言略說四句義 四種顛倒法於法身中倒 修行對治法

Rgvbh 30.6-8 tatra pūrveṇa ślokārdhena kiṃ darśitam | phalam eṣāṃ samāsena dharmakāye viparyayāt | caturvidhaviparyāsapratipakṣaprabhāvitam || 36 ||
Rgvbh ๓๐.๖-๘ ตตฺร ปูรฺเวณ โศฺลการฺเธน กิํ ทรฺศิตมฺ ฯ ผลมฺ เอษํา สมาเสน ธรฺมกาเย วิปรฺยยาตฺ ฯ จตุรฺวิธวิปรฺยาสปฺรติปกฺษปฺรภาวิตมฺ ๚ ๓๖ ๚

Tg phi 90b2-3 de la tshigs su bcad pa phyed sṅa mas ci bstan źe na | 'di dag 'bras ni mdor bsdu na || chos kyi sku la phyin ci log |  rnam pa bźi las 3 bzlog pa yi ||  gñen pos rab tu phye ba ñid ||

Takasaki 208 (§1. The Four Supreme Virtues as the Result of Purification.) Here, what is shown by the former half of this śloka? Because of the change of value in the Absolute Body, The results of these [4 causes] are, in short, [The Purity, etc.] represented as the Antidote To the four kinds of delusion. || 36 ||

๑๕.ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตา
T 1611 Rm-Zs 829b14-17 此偈明何義。彼信等四法。如來法身因此能清淨。彼向說四種法。彼次第略說對治四顛倒。如來法身四種功德波羅蜜果應知。偈言略說四句義故。

Rgvbh 30.9-11 ya ete 'dhimuktyādayaś catvāro dharmās tathāgatadhātor viśuddhihetava eṣāṃ yathāsaṃkhyam eva samāsataś caturvidhaviparyāsaviparyayapratipakṣeṇa caturākārā tathāgatadharmakāyaguṇapāramitā phalaṃ draṣṭavyam |
Rgvbh ๓๐.๙-๑๑ ย เอเต 'ธิมุกฺตฺยาทยศฺ จตฺวาโร ธรฺมาสฺ ตถาคตธาโตรฺ วิศุทฺธิเหตว เอษํา ยถาสํขฺยมฺ เอว สมาสตศฺ จตุรฺวิธวิปรฺยาสวิปรฺยยปฺรติปเกฺษณ จตุราการา ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตา ผลํ ทฺรษฺฏวฺยมฺ ฯ

Tg phi 90b3-4 mos pa la sogs pa'i de bźin gśegs pa'i khams rnam par dag pa'i rgyur bśad pa'i chos bźi po gaṅ yin pa de dag gi 'bras bu ni mdor bsdu na | go rims ji lta ba bźin du phyin ci log rnam pa bźi las bzlog pa'i gñen 4 por de bźin gśegs pa'i chos kyi sku la yon tan gyi pha rol tu phyin pa rnam pa bźir blta'o ||
Takasaki 208 Those terms, 'the faith'. etc., have been taught as the causes of purification of the Essence of the Tathāgata. 'Of these [four causes]', in brief, the four kinds of Supreme Virtues of the Absolute Body of the Tathāgata are to be understood as 'the results' on account of their being Antidotes to the opposites of four kinds of delusion, respectively.

๑๖.ตถาคตธรฺมกายมฺ 
T 1611 Rm-Zs 829b21-27 何等為四。謂於色等無常事中生無常想苦想無我想不淨想等。是名四種不顛倒對治應知。偈言修行對治法故。如是四種顛倒對治。依如來法身。復是顛倒應知。偈言於法身中倒故。對治此倒說有四種如來法身功德波羅蜜果。

Rgvbh 30.13-17 katamaś caturvidhaḥ | yā tasminn eva rūpādike vastuny anityasaṃjñā | duḥkhasaṃjñā | anātmasaṃjñā | aśubhasaṃjñā | ayām ucyate caturvidhaviparyāsaviparyayaḥ | sa khalv eṣa niyādilakṣaṇaṃ tathāgatadharmakāyam adhikṛtyeha viparyāso 'bhipreto yasya pratipakṣeṇa caturākārā tathāgatadharmakāyaguṇapāramitā vyavasthāpitā |
Rgvbh ๓๐.๑๓-๑๗ กตมศฺ จตุรฺวิธะ ฯ ยา ตสฺมินฺนฺ เอว รูปาทิเก วสฺตุนฺยฺ อนิตฺยสํชฺญา ฯ ทุะขสํชฺญา ฯ อนาตฺมสํชฺญา ฯ อศุภสํชฺญา ฯ อยามฺ อุจฺยเต จตุรฺวิธวิปรฺยาสวิปรฺยยะ ฯ ส ขลฺวฺ เอษ นิยาทิลกฺษณํ ตถาคตธรฺมกายมฺ อธิกฤตฺเยห วิปรฺยาโส 'ภิเปฺรโต ยสฺย ปฺรติปเกฺษณ จตุราการา ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตา วฺยวสฺถาปิตา ฯ

คุณอันสูงสุดแห่งธรรมกายของพระตถาคต 4 ประการ จึงปรากฏชัดเจน | กล่าวคือ ความเที่ยงอันสูงสุด (นิตยปารมิตา) ความสุขอันสูงสุด (สุขปารมิตา) ความเป็นเอกภาพอันสูงสุด (อาตมปารมิตา) ความบริสุทธิ์อันสูงสุด (ศุภปารมิตา) |

The four highest qualities of the Tathagata's Dhammakaya are thus clearly evident, namely, the highest perfection. (Nittayaparamita) highest happiness (Sukparamita) highest unity (Atthaparamita) Supreme Purity (Suphaparamita) |

Tg phi 90b5-6 'di las bzlog pa la ni phyin ci ma log pa rnam pa bźi ñid du rig par bya'o || rnam pa bźi gaṅźe na | gzugs la sogs pa'i dṅos po de ñid la mi rtag pa'i 'du śes daṅ | sdug 6 bsṅal ba'i 'du śes daṅ | bdag med pa'i 'du śes daṅ | mi gtsaṅ ba'i 'du śes gaṅ yin pa ste | 'di ni phyin ci log rnam pa bźi las bzlog pa'o || de yaṅ rtag pa la sogs pa'i mtshan ñid de bźin gśegs pa'i chos kyi sku'i dbaṅ du byas te | 'dir phyin ci log tu 'dod do ||
Takasaki 208-209 Being opposite to this notion, there should be known 'the fourfold non-delusion'. Which four? That is to say, the notion of being non-eternal, full of sufferings, of no substantial Ego, and impure regarding just those separate things of form, etc. Such a notion is called the fourfold Opposite of delusion. And again, this very [notion of non-delusion] is implied as 'delusion' with reference to the Absolute Body of the Tathāgata whose characteristics are eternal, etc.

๑๗.ตถาคตธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 829c2-3  世尊。一切阿羅漢辟支佛空智者。於一切智境界及如來法身本所不見。
Rgvbh 30.21-31.1 sarvaśrāvakapratyekabuddhā api bhagavan śūnyatājñānenādṛṣṭapūrve sarvajñajñānaviṣaye tathāgatadharmakāye viparyastāḥ |
Rgvbh ๓๐.๒๑-๓๑.๑ สรฺวศฺราวกปฺรตฺเยกพุทฺธา อปิ ภควนฺ ศูนฺยตาชฺญาเนนาทฤษฺฏปูรฺเว สรฺวชฺญชฺญานวิษเย ตถาคตธรฺมกาเย วิปรฺยสฺตาะ ฯ

Tg phi 91a2-3 bcom ldan 'das ñan thos daṅ raṅ saṅs rgyas thams cad kyaṅ stoṅ pa ñid kyi ye śes kyis sṅar ma mthoṅ ba | thams cad mkhyen pa ñid kyi ye śes kyi yul de bźin gśegs pa'i 3 chos kyi sku la phyin ci log tu gyur pa'o ||
Takasaki 209 Even all the Ṥrāvakas and Pratyekabuddhas, O Lord, also have a miscomprehension in regard to the Absolute Body of the Tathāgata which is the sphere of the Wisdom of Omniscience and has never been seen before just because of their knowledge of Non-substantiality.
๑๘.ตถาคตธรฺมกาย เอว
T 1611 Rm-Zs 829c6-10 唯如來法身。是常波羅蜜樂波羅蜜我波羅蜜淨波羅蜜。世尊。若有眾生於佛法身作是見者。是名正見。世尊。正見者是佛真子。從佛口生從正法生。從法化生得法餘財。如是等故。

Rgvbh 31.3-6 tathāgatadharmakāya eva bhagavan nityapāramitā sukhapāramitāātmapāramitāśubhapāramitā | ye bhagavan sattvās tathāgatadharmakāyam evaṃ paśyanti te samyak paśyanti | ye samyak paśyanti te bhagavataḥ putrā aurasā iti vistaraḥ |
Rgvbh ๓๑.๓-๖ ตถาคตธรฺมกาย เอว ภควนฺ นิตฺยปารมิตา สุขปารมิตาอาตฺมปารมิตาศุภปารมิตา ฯ เย ภควนฺ สตฺตฺวาสฺ ตถาคตธรฺมกายมฺ เอวํ ปศฺยนฺติ เต สมฺยกฺ ปศฺยนฺติ ฯ เย สมฺยกฺ ปศฺยนฺติ เต ภควตะ ปุตฺรา เอารสา อิติ วิสฺตระ ฯ

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ธรรมกายแห่งพระตถาคตนั่นแหละ คือ ความเที่ยงอันสูงสุด(นิตยปารมิตา) ความสุขอันสูงสุด (สุขปารมิตา) ความเป็นเอกภาพอันสูงสุด (อาตมปารมิตา) และความบริสุทธิ์อันสูงสุด (ศุภปารมิตา) |

O Lord, The Dhammakaya of the Tathagata is the highest stability (nityaparamita), the highest happiness (sukparamita), the highest unity. (Aatamaparamita) and the highest purity (Suphaparamita) |

Tg phi 91a4-6 bcom ldan 'das de bźin gśegs pa'i chos kyi sku ñid ni | rtag pa'i pha rol tu phyin pa | bde ba'i 5 pha rol tu phyin pa | gtsaṅ ba'i pha rol tu phyin pa'o || bcom ldan 'das sems can gaṅ dag de bźin gśegs pa'i chos kyi sku de ltar mthoṅ ba de dag ni yaṅ dag par mthoṅ ba'o || yaṅ dag par mthoṅ ba gaṅ lags pa de dag thams cad ni bcom ldan 'das kyi thugs kyi sras 6 lags so źes rgyas par 'byuṅṅo ||
Takasaki 210 [Because], O Lord, the Absolute Body of the Tathāgata is verily the Supreme Eternity, the Supreme Bliss, the Supreme Unity and the Supreme Purity. O Lord, those people who perceive the Absolute Body of the Tathāgata in this way, perceive perfectly. Those who perceive perfectly are, O Lord, the legal sons of the Buddhas" &c.

๑๙.ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตานํา
T 1611 Rm-Zs 829c10-15 又此四種如來法身功德波羅蜜從因向果。次第而說淨我樂常應知。云何次第從因向果。謂誹謗大乘一闡提障。實無有淨而心樂著取世間淨。此障對治。謂諸菩薩摩訶薩信大乘修行證得第一淨波羅蜜果應知。

Rgvbh 31.7-10 āsāṃ punaś catasṛṇāṃ tathāgatadharmakāyaguṇapāramitānāṃ hetvānupūrvyā pratilomakramo veditavyaḥ | tatra mahāyānadharmapratihatānām icchantikānām aśucisaṃsārā-bhirativiparyayeṇa bodhisattvānāṃ mahāyānadharmādhimuktibhāvanāyāḥ śubhapāramitā-dhigamaḥ phalaṃ draṣṭavyam |
Rgvbh ๓๑.๗-๑๐ อาสํา ปุนศฺ จตสฤณํา ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตานํา เหตฺวานุปูรฺวฺยา ปฺรติโลมกฺรโม เวทิตวฺยะ ฯ ตตฺร มหายานธรฺมปฺรติหตานามฺ อิจฺฉนฺติกานามฺ อศุจิสํสารา-ภิรติวิปรฺยเยณ โพธิสตฺตฺวานํา มหายานธรฺมาธิมุกฺติภาวนายาะ ศุภปารมิตา-ธิคมะ ผลํ ทฺรษฺฏวฺยมฺ ฯ

Tg phi 91a6-7 de bźin gśegs pa'i chos kyi sku'i yon tan gyi pha rol tu phyin pa 'di bźi ni rgyu'i go rims kyis go rims las bzlog ste rig par bya'o || de la theg pa chen po'i chos la sdaṅ ba | 'dod chen pa rnams kyi mi gtsaṅ ba'i 'khor ba la mṅon par 7 dga' ba las bzlog nas | byaṅ chub sems dpa' rnams kyi theg pa chen po'i chos la mos pa bsgoms pa las ni 'bras bu gtsaṅ ba'i pha rol tu phyin pa thob par blta'o ||
Takasaki 210 (§2. Concordance betweenSupreme Virtues and Causes of Purification.)  And again, of these four Supreme Virtues of the Absolute Body of the Tathāgata, one should know the reversed arrangement according to the order of causes. Here, 1) being opposite to the taking of delight in the 'impure' Phenomenal Life by the Icchantikas who have hatred against the Doctrine of Great Vehicle, it should be understood that the acquisition of the Supreme Purity is the result of 'Practice of the Faith in the Doctrine of Great Vehicle' by the Bodhisattvas.

๒๐.ตถาคตธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 830a17-19 是名諸菩薩摩訶薩信及般若三昧大悲四種修行。如是次第得如來身淨我樂常四種功德波羅蜜果應知。

Rgvbh 32.5-7 ity etāsāṃ catasṛṇām adhimuktiprajñāsamādhikaruṇābhāvanānāṃ yathāsaṃkhyam eva caturākāraṃ tathāgatadharmakāye śubhātmasukhanityatvaguṇapāramitākhyaṃ phalaṃ nirvartyate bodhisattvānām |
Rgvbh ๓๒.๕-๗ อิตฺยฺ เอตาสํา จตสฤณามฺ อธิมุกฺติปฺรชฺญาสมาธิกรุณาภาวนานํา ยถาสํขฺยมฺ เอว จตุราการํ ตถาคตธรฺมกาเย ศุภาตฺมสุขนิตฺยตฺวคุณปารมิตาขฺยํ ผลํ นิรฺวรฺตฺยเต โพธิสตฺตฺวานามฺ ฯ

ดังนั้น คุณอันสูงสุด (คุณปารมิตา) 4 ประการ คือความบริสุทธิ์(อันสูงสุด) ความเป็นเอกภาพ (อันสูงสุด) ความสุข (อันสูงสุด) และความเที่ยง (อันสูงสุด) ในธรรมกายแห่งพระตถาคต จึงถูกจัดว่าเป็นผลของการปฏิบัติ 4 ประการ อัน ได้แก่ ความศรัทธา ปัญญา สมาธิ และกรุณา แห่งพระโพธิสัตว์ ตามลำดับ

Therefore, the four highest virtues (paramita) are purity (highest), unity (highest), happiness (highest), and stability (highest) in the Dhammakaya of the Tathagata. Therefore, it is considered to be the result of the practice of four factors, which are faith, wisdom, concentration, and compassion of the Bodhisattva, respectively.

Tg phi 91b6-7 de ltar byaṅ chub sems dpa' rnams kyi mos pa daṅ | śes pa daṅ | tiṅṅe 'dzin daṅ | sñiṅ rje chen po bsgoms pa rnams kyi 'bras 7 bu ni go rims ji lta ba bźin du de bźin gśegs pa'i chos kyi sku gtsaṅ ba daṅ | bdag daṅ | bde ba daṅ | rtag pa'i yon tan gyi pha rol tu phyin pa rnams pa bźi 'grub bo ||
Takasaki 213 Thus, 4 kinds of Supreme Virtues named Purity, Unity, Bliss and Eternity are brought about on the Absolute Body of the Tathāgata as the result of Bodhisattvas' 4 kinds of practices, namely, those of Faith [in the Doctrine of Great Vehicle], the Supremacy in the transcendental Intellect, the Meditations and the Great Compassion, respectively.
๒๑.ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตานามฺ
T 1611 Rm-Zs 830a28-b2 又此四種波羅蜜等住無漏界中。聲聞辟支佛得大力自在。菩薩為證如來功德法身第一彼岸有四種障。

Rgvbh 32.14-16 āsāṃ punaś catasṛṇāṃ tathāgatadharmakāyaguṇapāramitānām adhigamāyānāsravadhātusthitānām apy arhatāṃ pratyekabuddhānāṃ vaśitāprāptānāṃ ca bodhisattvānām ime catvāraḥ paripanthā bhavanti |
Rgvbh ๓๒.๑๔-๑๖ อาสํา ปุนศฺ จตสฤณํา ตถาคตธรฺมกายคุณปารมิตานามฺ อธิคมายานาสฺรวธาตุสฺถิตานามฺ อปฺยฺ อรฺหตํา ปฺรตฺเยกพุทฺธานํา วศิตาปฺราปฺตานํา จ โพธิสตฺตฺวานามฺ อิเม จตฺวาระ ปริปนฺถา ภวนฺติ ฯ

Tg phi 92a3-4 zag pa med pa'i dbyiṅs la gnas pa'i dgra bcom pa daṅ | raṅ saṅs rgyas rnams daṅ | 4 dbaṅ thob pa'i byaṅ chub sems dpa' rnams la yaṅ de bźin gśegs pa'i chos kyi sku'i yon tan gyi pha rol tu phyin pa rnam pa 'di bźi thob pa'i gegs su 'gyur ba ni 'di bźi ste |
Takasaki 214 (§3. 4 Impediments to the Attainment of the Supreme Virtues.) And now, for the acquisition of these four kinds of Supreme Virtues of the Absolute Body of the Tathāgata, there are four Impediments even in case of the Arhats, Pratyckabuddhas and those Bodhisattvas who have obtained [10] Controlling Powers, though they are abiding in the Immaculate Sphere.

๒๒.ตถาคตธรฺมกาย เอว
T 1611 Rm-Zs 830c2-5 復次以聲聞辟支佛大力菩薩三種意生身中無淨我樂常波羅蜜彼岸功德身。是故聖者勝鬘經言。唯如來法身是常波羅蜜樂波羅蜜我波羅蜜淨波羅蜜。如是等故。

Rgvbh 34.4-7 yata eteṣu triṣu manomayeṣv arhatpratyekabuddhabodhisattvakāyeṣu śubhātmasukhanityatvaguṇapāramitā na saṃvidyante tasmāt tathāgatadharmakāya eva nityapāramitā sukhapāramitātmapāramitāśubhapāramitety uktam |
Rgvbh ๓๔.๔-๗ ยต เอเตษุ ตฺริษุ มโนมเยษฺวฺ อรฺหตฺปฺรตฺเยกพุทฺธโพธิสตฺตฺวกาเยษุ ศุภาตฺมสุขนิตฺยตฺวคุณปารมิตา น สํวิทฺยนฺเต ตสฺมาตฺ ตถาคตธรฺมกาย เอว นิตฺยปารมิตา สุขปารมิตาตฺมปารมิตาศุภปารมิเตตฺยฺ อุกฺตมฺ ฯ

Tg phi 93a1-2 gaṅ gi phyir dgra bcom pa daṅ | raṅ saṅs rgyas daṅ | dbaṅ thob pa'i byaṅ chub sems dpa'i yid kyi raṅ bźin gyi lus 'di gsum la gtsaṅ ba daṅ | bdag daṅ | bde ba daṅ | rtag pa'i pha rol tu phyin pa med pa de'i phyir | de 2 bźin gśegs pa'i chos kyi sku kho na rtag pa'i pha rol tu phyin pa | bde ba'i pha rol tu phyin pa | bdag gi pha rol tu phyin pa | gtsaṅ ba'i pha rol tu phyin pa źes bya'o ||
Takasaki 217-218 Thus, in these Bodies made of mind of the Arhats, Pratyekabuddhas and Bodhisattvas, there are no Supreme Virtues of Purity, Unity, Bliss and Eternity. Therefore, it is said : "Only the Absolute Body of the Tathāgata is the Supreme Eternity, the Supreme Bliss, the Supreme Unity and the Supreme Purity".
๒๓.ตถาคตธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 830c13-16 又復略說有二種法。依此二法如來法身有淨波羅蜜應知。何等為二。一者本來自性清淨。以 11因相故。二者離垢清淨。以勝相故。
Rgvbh 34.12-13 samāsato dvābhyāṃ kāraṇābhyāṃ tathāgatadharmakāye śubhapāramitā veditavyā | prakṛtipariśuddhyā sāmānyalakṣaṇena | vaimalyapariśuddhyā viśeṣalakṣaṇena |
Rgvbh ๓๔.๑๒-๑๓ สมาสโต ทฺวาภฺยํา การณาภฺยํา ตถาคตธรฺมกาเย ศุภปารมิตา เวทิตวฺยา ฯ ปฺรกฤติปริศุทฺธฺยา สามานฺยลกฺษเณน ฯ ไวมลฺยปริศุทฺธฺยา วิเศษลกฺษเณน ฯ

โดยย่อ พึงทราบความบริสุทธิ์อันสูงสุด (ศุภปารมิตา)ในธรรมกายแห่งพระตถาคต ด้วยเหตุ 2 ประการ | คือ เพราะธรรมกายแห่งพระตถาคตบริสุทธิ์ตามธรรมชาติ โดยลักษณะทั่วไป | และเพราะธรรมกายแห่งพระตถาคตบริสุทธิ์บริบูรณ์ด้วยไม่มีมลทิน โดยลักษณะที่พิเศษ (ของพระพุทธเจ้า) |

In short, know the highest purity. (Supparamita) in the Dhammakaya of the Tathagata for two reasons | namely, because the Dhammakaya of the Tathagata is naturally pure By its general characteristics | and because the Dhammakaya of the Tathagata is completely pure and without blemishes. by special characteristics (of Buddha) |

Tg phi 93a-4 mdor bsdu na rgyu rnam pa gñis kyis na de bźin gśegs pa'i chos kyi sku gtsaṅ ba'i pha rol tu phyin par rig par bya ste | 4 spyi'i mtshan ñid raṅ bźin gyis yoṅs su dag pa daṅ | khyad par gyi mtshan ñid dri ma med pa'i yoṅs su dag pas so ||
Takasaki 218 In short, by two reasons there should be known the Supreme Purity in the Absolute Body of the Tathāgata. That is to say, 1) through his being perfectly pure by nature, as the common feature; and 2) through his being perfectly pure by the removal of pollution, as the special feature [to the Buddha].

๒๔.ธรฺมกายชินชฺญานกรุณาธาตุสํคฺรหาตฺ 
T 1611 Rm-Zs 831b13-15 此初半偈示現何義。偈言佛法身慧定 悲攝眾生性海珍寶水等 相似相對法

Rgvbh 37.13-15 tatra pūrveṇa ślokārdhena kiṃ darśitam | dharmakāyajinajñānakaruṇādhātusaṃgrahāt | pātraratnāmbubhiḥ sāmyam udadher asya darṣitam || 43 ||
Rgvbh ๓๗.๑๓-๑๕ ตตฺร ปูรฺเวณ โศฺลการฺเธน กิํ ทรฺศิตมฺ ฯ ธรฺมกายชินชฺญานกรุณาธาตุสํคฺรหาตฺ ฯ ปาตฺรรตฺนามฺพุภิะ สามฺยมฺ อุทเธรฺ อสฺย ทรฺษิตมฺ ๚ ๔๓ ๚

Tg phi 94b5-6 de la tshigs su bcad pa phyed sṅa mas ci ston źe na | chos sku rgyal ba'i ye śes daṅ || thugs rje'i khams ni bsdus pa'i phyir | 
 snod daṅ rin chen chu yis ni ||  rgya mtsho daṅ ni mtshuṅs par bstan ||

Takasaki 225 (§1. The Union of the Germ with the Factors of its Purification.) Here, what is shown by the former half of this śloka? Because it consists of the sources of the Absolute Body, Of the Buddha's Wisdom and Compassion, There is shown the similarity of the Germ with the ocean, Through being receptacle, jewels and water. || 43 ||

๒๕.ธรฺมกายวิศุทฺธิเหตุะ
T 1611 Rm-Zs 831b18-19 何等三處。一者法身清淨因。二者集佛智因。三者得如來大悲因。

Rgvbh 37.17-38.1 katamāni trīṇi sthānāni | tad yathā dharmakāyaviśuddhihetuḥ | buddhajñānasamudāgamahetuḥ | tathāgatamahākaruṇāvṛttihetur iti |
Rgvbh ๓๗.๑๗-๓๘.๑ กตมานิ ตฺรีณิ สฺถานานิ ฯ ตทฺ ยถา ธรฺมกายวิศุทฺธิเหตุะ ฯ พุทฺธชฺญานสมุทาคมเหตุะ ฯ ตถาคตมหากรุณาวฤตฺติเหตุรฺ อิติ ฯ

Tg phi 94b7 gnas gsum po gaṅźe na | 'di lta ste | chos kyi sku rnam par dag pa'i rgyu daṅ | saṅs rgyas kyi ye śes thob pa'i rgyu daṅ | de bźin gśegs pa'i thugs rje chen po 'jug pa'i rgyu'o ||
Takasaki 226 Then, which are the three points? They are namely: [its being provided with] 1) the cause of purification of the Absolute Body; 2) the cause of the attainment of Buddha's Wisdom; 3) and the cause of the manifestation of Buddha's Great Compassion.
๒๖.ธรฺมกายวิศุทฺธิเหตุรฺ 

T 1611 Rm-Zs 831b19-21 法身清淨因者。信修行大乘器相似相對法。以彼無量不可盡故。偈言佛法身故。海相似相對法故。

Rgvbh 38.1-3 tatra dharmakāyaviśuddhihetur mahāyānādhimuktibhāvanā draṣṭavyā | buddhajñānasamudāgamahetuḥ prajñāsamādhimukhabhāvanā | tathāgatamahākaruṇāpravṛttihetur bodhisattvakaruṇābhāvaneti |
Rgvbh ๓๘.๑-๓ ตตฺร ธรฺมกายวิศุทฺธิเหตุรฺ มหายานาธิมุกฺติภาวนา ทฺรษฺฏวฺยา ฯ พุทฺธชฺญานสมุทาคมเหตุะ ปฺรชฺญาสมาธิมุขภาวนา ฯ ตถาคตมหากรุณาปฺรวฤตฺติเหตุรฺ โพธิสตฺตฺวกรุณาภาวเนติ ฯ

Tg phi 94b7-95a1
de la chos kyi sku rnam par dag pa'i rgyu ni theg pa chen po la mos pa sgom par 1 || blta'o || saṅs rgyas kyi ye śes thob pa'i rgyu ni | śes rab daṅ tiṅṅe 'dzin gyi sgo sgom pa'o || de bźin gśegs pa'i thugs rje chen po 'jug pa'i rgyu ni | byaṅ chub sems dpa'i sñiṅ rje chen po sgom pa'o ||
Takasaki 226 Here, 1) 'the cause of purification of the Absolute Body' is to be known as the practice of faith in [the Doctrine of] the Great Vehicle; 2) 'the cause of the attainment of Buddha's Wisdom', the practice of the introduction to the highest Intellect and Meditation; 3) and 'the cause of the manifestation of Buddha's Great Compassion', the practice of Bodhisattva's Great Compassion.
๒๗.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs (no chi)
Rgvbh 39.7-8 evam eva śāriputra tathāgatanirdiṣṭo dharmakāyo 'vinirbhāgadharmāvinirmuktajñānaguṇo yad uta ga?gānadīvālikāvyativṛttais tathāgatadharmair iti |

Rgvbh ๓๙.๗-๘ เอวมฺ เอว ศาริปุตฺร ตถาคตนิรฺทิษฺโฏ ธรฺมกาโย 'วินิรฺภาคธรฺมาวินิรฺมุกฺตชฺญานคุโณ ยทฺ อุต ค?คานทีวาลิกาวฺยติวฤตฺไตสฺ ตถาคตธรฺไมรฺ อิติ ฯ

Tg phi 95b4
śā ri'i bu de bźin du de bźin gśegs pas bstan pa'i chos kyi sku ni 'di lta ste | gaṅ gā'i kluṅ gi bye ma sñed 'das pa de bźin gśegs pa'i chos rnams kyis rnam par dbye ba med pa'i chos can ma bral ba'i ye śes kyi yon tan can no źes gsuṅs so ||

Takasaki 228-229
In the same way, Ṥāriputra, the Absolute Body, taught by the Tathāgata is of indivisible nature, of the qualities inseparable from Wisdom (i.e. Enlightenment). That is to say, [indivisible, inseparable], from the Properties of the Tathāgata which are far beyond the sand of the Ganga in number".

๒๘.อยมฺ เอว ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย 'ปรฺยนฺตเกฺลศโกศโกฏิคูฒะ ฯ ดูก่อนสารีบุตร ธรรมกายนี้ เมื่อถูกห่อหุ้มด้วยเครื่องห่อหุ้มคือกิเลสอันไม่มีที่สุด |
T 1611 Rm-Zs 832a21-26 此以何義。謂不淨時名為眾生。偈言有不淨故。不淨淨時名為菩薩。偈言有淨故。於善淨時名為如來。偈言及以善淨故以是義故。不增不減經言。舍利弗。即此法身過於恆沙。無量煩惱所纏。從無始來隨順世間生死濤波去來生退名為眾生。

Rgvbh 40.14-18 yad utāśuddhāvasthāyāṃ sattvadhātur iti | aśuddhaśuddhāvasthāyāṃ bodhisattva iti | suviśuddhāvasthāyāṃ tathāgata iti | yathoktaṃ bhagavatā | ayam eva śāriputra dharmakāyo 'paryantakleśakośakoṭigūḍhaḥ | saṃsārasrotasā uhyamāno 'navarāgrasaṃsāragaticyutyupapattiṣu saṃcaran sattvadhātur ity ucyate |
Rgvbh ๔๐.๑๔-๑๘ ยทฺ อุตาศุทฺธาวสฺถายํา สตฺตฺวธาตุรฺ อิติ ฯ อศุทฺธศุทฺธาวสฺถายํา โพธิสตฺตฺว อิติ ฯ สุวิศุทฺธาวสฺถายํา ตถาคต อิติ ฯ ยโถกฺตํ ภควตา ฯ อยมฺ เอว ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย 'ปรฺยนฺตเกฺลศโกศโกฏิคูฒะ ฯ สํสารโสฺรตสา อุหฺยมาโน 'นวราคฺรสํสารคติจฺยุตฺยุปปตฺติษุ สํจรนฺ สตฺตฺวธาตุรฺ อิตฺยฺ อุจฺยเต ฯ

ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ เมื่อถูกห่อหุ้มด้วยเครื่องห่อหุ้มคือกิเลสอันไม่มีที่สุด | ถูกสังสารวัฏพัดไป และเคลื่อนที่ไปอยู่ในระหว่างการตายและการเกิดอันอยู่ในสังสารอันมีเบื้องต้นอันใครๆ ผู้ไปตามอยู่รู้ไม่ได้นั่นแหล่ะ ท่านจึงเรียกว่า สัตตวธาตุ |

See, Sriputra, this Dhammakaya, when wrapped in a covering, is an infinite defilement | swept away by samsara. and moves between death and birth in the primordial samsara that everyone has. Those who follow cannot know that. Therefore it is called Sattavadhatu |

Tg phi 96a6-96b1 'di lta ste | ma dag pa'i gnas skabs su ni sems can gyi khams źes bya ba daṅ | ma dag pa daṅ | dag pa'i 7 gnas skabs su ni byaṅ chub sems dpa' źes bya ba daṅ | śin tu rnam par dag pa'i gnas skabs su ni de bźin gśegs pa źes bya'o || ji skad du | bcom ldan 'das kyis śā ri'i bu chos kyi sku de ñid ñon moṅs pa'i sbubs bye ba mtha' yas pas gtums pas | 'khor 1 ba'i rgyun gyis khyer ba | thog ma daṅ tha ma med pa'i 'khor ba'i 'gro bar 'chi ba daṅ | skye ba dag tu 'khor ba ni sems can gyi khams źes brjod do ||
Takasaki 231-232
That is to say, 1) in the 'impure' state [the Essence of the Buddha is named] 'the Ordinary Beings'; 2) in the '[partly] pure and [partly] impure' state, the Bodhisattva; 3) and in the'perfectly pure', the Tathāgata. It has been said by the Lord: "Ṥāriputra, this Absolute Body, when it is covered with the limitless sheath of defilements, being carried by the stream of the Phenomenal Life and moving to and fro betweendeath and birth in the course of the beginningless Phenomenal Life, is called 'the [ordinary] living beings'.

๒๙.ธรฺมกายะ 
T 1611 Rm-Zs 832a26-28 舍利弗。即此法身厭離世間生死苦惱。捨一切欲。行十波羅蜜攝八萬四千法門。修菩提行。名為菩薩。

Rgvbh 40.18-41.1 sa eva śāriputra dharmakāyaḥ saṃsārasrotoduḥkhanirviṇṇo viraktaḥ sarvakāmaviṣayebhyo daśapāramitāntargataiś caturaśītyā dharmaskandhasahasrair bodhāya caryāṃ caran bodhisattva ity ucyate |
Rgvbh ๔๐.๑๘-๔๑.๑ ส เอว ศาริปุตฺร ธรฺมกายะ สํสารโสฺรโตทุะขนิรฺวิณฺโณ วิรกฺตะ สรฺวกามวิษเยภฺโย ทศปารมิตานฺตรฺคไตศฺ จตุรศีตฺยา ธรฺมสฺกนฺธสหไสฺรรฺ โพธาย จรฺยํา จรนฺ โพธิสตฺตฺว อิตฺยฺ อุจฺยเต ฯ

ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนั้นนั่นเอง เมื่อรังเกียจทุกข์ในกระแสแห่งสังสาร และเบื่อหน่ายจากอารมณ์แห่งกามทั้งปวง บำเพ็ญจริยาเพื่อการตรัสรู้ ด้วยทศบารมีที่อยู่ภายใน และด้วยหมวดธรรม 81,000 พระธรรมขันธ์ นี้ ท่านจึงเรียกว่า โพธิสัตว์

Look, Sributr. That Dhammakaya. When you hate suffering in the flow of samsara and bored from all lustful feelings Practice meditation for enlightenment With the power that is within And because of the 81,000 dharmas in the Dhamma Khandha, he is called a Bodhisattva.


Tg phi 96b1-2 śā ri'i bu chos kyi sku de ñid 'khor ba'i rgyun gyi sdug bsṅal las skyo bar gyur pa | 'dod pa'i yul thams cad la chags pa daṅ bral ba pa 2 rol tu phyin pa bcu'i khoṅs su gtogs pa | chos kyi phuṅ po brgyad khri bźi stoṅ gis byaṅ chub kyi don du spyad pa spyod pa ni byaṅ chub sems dpa' źes brjod do ||
Takasaki 232 This same Absolute Body, O Ṥāriputra, when it has become averse to the Suffering in the stream of Phenomenal Life and become free from all the objects of desire, doing the practice towards Enlightenment by means of the 10 Supreme Virtues as including and representing all of the 84 thousand groups of Doctrines, it is called 'the Bodhisattva'. 
๓๐.ธรฺมกายะ 
T 1611 Rm-Zs 832a29-b5 舍利弗。即此法身得離一切煩惱使纏。過一切苦。離一切煩惱垢得淨得清淨。得住彼岸清淨法中。到一切眾生所觀之地。於一切境界中更無勝者。離一切障離一切礙。於一切法中得自在力。名為如來應正遍知故。偈言如是次第說眾生菩薩佛故。

Rgvbh 41.1-5 punaḥ śāriputra dharmakāyaḥ sarvakleśakośaparimuktaḥ sarvaduḥkhātikrāntaḥ sarvopakleśamalāpagataḥśuddho viśuddhaḥ paramapariśuddhadharmatāyāṃ sthitaḥ sarvasattvālokanīyāṃ bhūmim ārūḍhaḥ sarvasyāṃ jñeyabhūmāv advitīyaṃ pauruṣaṃ sthāma prāpto 'nāvaraṇadharmāpratihatasarvadharmāiśvaryabalatām adhigatas tathāgato 'rhan samyaksaṃbuddha ity ucyate |
Rgvbh ๔๑.๑-๕ ปุนะ ศาริปุตฺร ธรฺมกายะ สรฺวเกฺลศโกศปริมุกฺตะ สรฺวทุะขาติกฺรานฺตะ สรฺโวปเกฺลศมลาปคตะศุทฺโธ วิศุทฺธะ ปรมปริศุทฺธธรฺมตายํา สฺถิตะ สรฺวสตฺตฺวาโลกนียํา ภูมิมฺ อารูฒะ สรฺวสฺยํา ชฺเญยภูมาวฺ อทฺวิตียํ เปารุษํ สฺถาม ปฺราปฺโต 'นาวรณธรฺมาปฺรติหตสรฺวธรฺมาอิศฺวรฺยพลตามฺ อธิคตสฺ ตถาคโต 'รฺหนฺ สมฺยกฺสํพุทฺธ อิตฺยฺ อุจฺยเต ฯ
          นอกจากนี้ ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกาย(นั้น) เมื่อหลุดพ้นจากเครื่องห่อหุ้มคือกิเลสทั้งปวง ก้าวถ่วงจากทุกข์ทั้งปวง เมื่อกำจัดมลทินคืออุปกิเลสทั้งปวง เป็นผู้บริสุทธิ์ บริสุทธิ์บริบูรณ์ ดำรงอยู่ในธรรมชาติที่บริสุทธิ์หมดจดอย่างยิ่ง เมื่อขึ้นสู่ภูมิอันสรรพสัตว์ทั้งหลายพึงมองดู บรรลุถึงกำลังของบุรุษที่ไม่เป็นรองใคร ในภูมิที่จะพึงรู้ทั้งปวง และได้บรรลุถึงความเป็นผู้มีกำลังที่ยิ่งใหญ่ในธรรมทั้งปวงอัน ไม่ถูกขัดขวางโดยธรรมอันเป็นเครื่องขวางกั้น ท่านจึงเรียกว่า ตถาคต อรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า |

Moreover, look at Sariputra. Dhammakaya (that) when released from the covering is all defilements. Moving forward from all suffering When removing all impurities and defilements innocent completely pure Live in an extremely pure nature. When he ascends to a place where all beings should look, Achieve a man's strength that is second to none. In the realm of knowing everything and has attained the status of having great power in all dharmas not being hindered by Dhamma which is an obstacle Therefore he is called the Tathagata, Arahant, Right Buddha |


Tg phi 96b2-4 śā ri'i bu chos kyi sku de ñid ñon moṅs pa'i sbubs thams cad las yoṅs su grol ba | sdug bsṅal ba thams 3 cad las 'das pa | ñe ba'i ñon moṅs pa'i dri ma mtha' dag daṅ bral ba | dag pa rnam par dag pa mchog tu yoṅs su dag pa'i chos ñid la gnas pa | sems can thams cad kyis blta bar bya ba'i sa la bźugs pa | śes bya'i sa thams cad la gñis su med pa'i skyes bu'i 4 mthu thob pa | sgrib pa med pa'i chos can chos thams cad kyi dbaṅ phyug gi stobs thogs pa med pa thob pa ni | de bźin gśegs pa dgra bcom pa yaṅ dag par rdzogs pa'i saṅs rgyas źes brjod do || źes gsuṅs pa bźin no || 
Takasaki 232-233 Furthermore, O Ṥāriputra, this very Absolute Body, when, having been perfectly released from all the sheaths of defilements, having surpassed all the Sufferings, having rejected all stains of subsequent defilements, it has become pure, perfectly pure, and, abiding in the Absolute Essence which is the highest point of purity, ascending to the stage to be looked upon by all living beings, has attained the unexcelled, manly strength among all knowable spheres, and has attained the Controlling Power on all separate elements, which is of no obstruction and of no hindrance, then it is called the Tathāgata, the Arhat, the Perfectly Enlightened One".

๓๑.ธรฺมกายะ
T 1611 Rm-Zs 832b16-20 以是義故。經中說有三時次第。如不增不減經言。舍利弗。不離眾生界有法身。不離法身有眾生界。眾生界即法身法身即眾生界。舍利弗。此二法者義一名異故。

Rgvbh 41.15-17 ata evāvasthānirdeśānantaram āha | tasmāc chāriputra nānyaḥ sattvadhātur nānyo dharmakāyaḥ | sattvadhātur eva dharmakāyaḥ | dharmakāya eva sattvadhātuḥ | advayam eyad arthena | vyañjanamātrabheda iti |
Rgvbh ๔๑.๑๕-๑๗ อต เอวาวสฺถานิรฺเทศานนฺตรมฺ อาห ฯ ตสฺมาจฺ ฉาริปุตฺร นานฺยะ สตฺตฺวธาตุรฺ นานฺโย ธรฺมกายะ ฯ สตฺตฺวธาตุรฺ เอว ธรฺมกายะ ฯ ธรฺมกาย เอว สตฺตฺวธาตุะ ฯ อทฺวยมฺ เอยทฺ อรฺเถน ฯ วฺยญฺชนมาตฺรเภท อิติ ฯ

ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวในลำดับต่อจากการแสดงถึงสถานะ ว่า | ดูก่อนศารีบุตร ดังนั้น สัตตวธาตุ และธรรมกาย ก็ไม่ใช่สิ่งที่แตกต่างกัน ! สัตตวธาตุก็คือธรรมกายนั่นแล | ธรรมกายก็คือสัตตวธาตุ นั่นเอง ! โดยอรรถ คำทั้งสองนี้ จึงไม่มีสอง (มีความหมายเป็นอันเดียวกัน) แต่ แตกต่างกันเพียงพยัญชนะ |

For that reason He then said next after expressing his status, 'Look, Shariputra, therefore, the Sattva Dhatu and the Dhammakaya are not different things! Sattavadhātu is Dhammakaya | Dhammakaya is Sattavadhātu! By meaning, these two words are not two (have the same meaning) but differ only in consonants. |

Tg phi 97a1-2 de ñid kyi phyir gnas skabs bstan pa'i de ma thag tu | śā ri'i bu de'i phyir na sems can gyi khams kyaṅ gźan la | chos kyi sku yaṅ gźan pa ni ma yin te | 2 sems can gyi khams ñid chos kyi sku | chos kyi sku ñid kyaṅ sems can gyi khams te | 'di ni don gyis gñis su med de yi ge tsam daṅ tha dad par yin no źes gsuṅs pa bźin no ||
Takasaki 234 For this reason, it has been said in the same scripture, immediately after the explanation of different states: "Therefore, O Ṥāriputra, the [ordinary] living beings and the Absolute Body are not different from each other. The living beings are nothing but the Absolute Body, and the Absolute Body is nothing but the living beings. These two are non-dual by meaning, and different merely by letters".
๓๒.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 835b8-13 如不增不減修多羅中說言。舍利弗。如來法身常。以不異法故。以不盡法故。舍利弗。如來法身恆。以常可歸依故。以未來際平等故。舍利弗。如來法身清涼。以不二法故。以無分別法故。舍利弗。如來法身不變。以非滅法故。以非作法故
Rgvbh 54.12-15 yad āha | nityo 'yaṃ śāriputra dharmakāyo 'nanyatvadharmākṣayadharmatayā | dhruvo 'yaṃ śāriputra dharmakāyo dhruvaśaraṇo 'parāntakoṭisamatayā | śivo 'yaṃ śāriputra dharmakāyo'dvayadharmāvikalpadharmatayā | śāśvato 'yaṃ śāriputra dharmakāyo 'vināśadharmākṛtrimadharmatayeti |
Rgvbh ๕๔.๑๒-๑๕ ยทฺ อาห ฯ นิตฺโย 'ยํ ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย 'นนฺยตฺวธรฺมากฺษยธรฺมตยา ฯ ธฺรุโว 'ยํ ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย ธฺรุวศรโณ 'ปรานฺตโกฏิสมตยา ฯ ศิโว 'ยํ ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย'ทฺวยธรฺมาวิกลฺปธรฺมตยา ฯ ศาศฺวโต 'ยํ ศาริปุตฺร ธรฺมกาโย 'วินาศธรฺมากฤตฺริมธรฺมตเยติ ฯ

ดังที่ท่านกล่าวว่า |  ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ เที่ยง เพราะธรรมกายนี้เป็นธรรมชาติที่ไม่เปลี่ยนแปลงด้วยมีคุณสมบัติที่สูญสิ้น ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ ยั่งยืน คือเป็นที่พึ่งที่ยั่งยืน เพราะธรรมกายนี้เสมอด้วยที่สุดอันหาขอบเขตมิได้ ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ สงบ เพราะธรรมกายนี้มีธรรมชาติที่ไม่เป็นสองและมีธรรมชาติที่ไม่อาจแบ่งแยก ดูก่อนศารีบุตร ธรรมกายนี้ คงที่ เพราะธรรมกายนี้มีธรรมชาติที่ไม่พินาศ (ถูกทำลาย) และมีธรรมชาติที่ไม่ถูกสร้างขึ้น |

As he said: 'Look, Sāriputra, this Dhammakaya is eternal because this Dhammakaya is of an unchanging nature with the qualities of extinction. Look, Sriputta, this Dhammakaya is enduring, that is, it is a lasting refuge. Because this Dhammakaya is equal to infinite limits | See, Sriputta, this Dhammakaya is peaceful because this Dhammakaya has a non-dual nature and a nature that cannot be divided. | See, Sriputta, this Dhammakaya is stable because this Dhammakaya has a nature that is not perishable (destroyed) and a nature that is not created. |

Tg phi 103b4-6 ji skad du | śā ri'i bu mi zad pa'i chos ñid kyis na gźan du mi 'gyur 5 ba'i chos kyi sku 'di ni rtag pa'o || śā ri'i bu phyi ma'i mtha'i mu daṅ mtshuṅs pa ñid kyis bstan pa'i skyabs su gyur pa'i chos kyi sku 'di ni brtan pa'o || śā ri'i bu rnam par mi rtog pa ñid kyis gñis su med pa'i chos kyi sku 'di ni źi ba'o || śā ri'i bu ma bcos pa'i chos ñid 6 kyis 'jig pa med pa'i chos kyi sku 'di ni g-yuṅ druṅṅo źes gsuṅs pa yin no ||
Takasaki 2 It is said as follows: "This Absolute Body, O Ṥāriputra, is Eternal since it is of unalterable nature through its inexhaustible properties. This Absolute Body, O Ṥāriputra, is Everlasting, the everlasting refuge, because it exists as far as the farthest limit. Being of indiscriminative nature, O Ṥāriputra, this Absolute Body is Quiescent, of nondualistic nature. Being of uncreated nature, O Ṥāriputra, this Absolute Body is Constant, of undestructible character".

๓๓.ธรฺมกายะ
T 1611 Rm-Zs 835b14-18 已說不變異。次說無差別。無差別者。即依此善淨時本際以來畢竟究竟自體相善淨如來藏無差別故。說一偈法身及如來 聖讓與涅槃功德不相離 如光不離日

Rgvbh 55.1-6 asyām eva viśuddhāvasthāyām atyantavyavadānaniṣṭhāgamanalakṣaṇasya tathāgatagarbhasyāsaṃbhedārtham ārabhya ślokaḥ | sa dharmakāyaḥ sa tathāgato yata s tad āryasatyaṃ paramārthanirvṛttiḥ | ato na buddhatvamṛte 'rkaraśmivad guṇāvinirbhāgatayāsti nirvṛtiḥ || 84 ||
Rgvbh ๕๕.๑-๖ อสฺยามฺ เอว วิศุทฺธาวสฺถายามฺ อตฺยนฺตวฺยวทานนิษฺฐาคมนลกฺษณสฺย ตถาคตครฺภสฺยาสํเภทารฺถมฺ อารภฺย โศฺลกะ ฯ ส ธรฺมกายะ ส ตถาคโต ยต สฺ ตทฺ อารฺยสตฺยํ ปรมารฺถนิรฺวฤตฺติะ ฯ อโต น พุทฺธตฺวมฤเต 'รฺกรศฺมิวทฺ คุณาวินิรฺภาคตยาสฺติ นิรฺวฤติะ ๚ ๘๔ ๚

นั้น คือธรรมกาย นั้น คือพระตถาคต" และเป็นความจริงอันประเสริฐและเป็นนิพพานอันสูงสุด ดังนั้น เพราะมันไม่อาจแบ่งแยกจากคุณสมบัติทั้งหลาย  เช่นกับดวงอาทิตย์กับรัศมี(แสง) จึงไม่มีนิพพานที่เว้นจากความเป็นพระพุทธเจ้า | 84 |

That is the Dhammakaya, that is the Tathagata” and it is the sublime truth and the highest nirvana. Therefore, because it cannot be separated from all qualities, Like the sun and its rays (light), there is no nirvana apart from being a Buddha. | 84 |

Tg phi 103b6-7 śin tu rnam par dag pa mthar phyin pa'i de bźin gśegs pa'i sñiṅ po'i rnam par dag pa'i gnas skabs 'di ñid la dbye ba med pa'i don las brtsams te tshigs su bcad pa |  gaṅ phyir da 7 ni chos sku de ni de bźin gśegs || de ni 'phags pa'i bden pa don dam mya ṅan 'das ||  de phyir ñi daṅ zer bźin yon tan dbyer med pas ||  saṅs rgyas ñid las ma gtogs mya ṅan 'das pa med ||
Takasaki 2 X ASAMBHEDA The Essence of the Tathāgata characterized as having reached the ultimate point of perfect purification in this pure state is of undifferentiated nature. With reference to this meaning of 'undifferentiation' we have one śloka. Kārikā It is the Absolute Body, it is the Tathāgata, Also it is the Holy Truth, the Highest Nirvāṇa; Therefore, being indivisible from qualities like the sun with its rays, There is no Nirvāṇa, apart from the Buddhahood. || 84 ||
๓๔.ธรฺมกายาทิปรฺยายา
T 1611 Rm-Zs 835b19-21 此初半偈示現何義。偈言略明法身等 義一而名異依無漏界中 四種義差別

Rgvbh 55.7-9 tatra pūrvaślokārdhena kiṃ darśayati | dharmakāyādiparyāyā veditavyāḥ samāsataḥ | catvāro 'nāsrave dhātau caturarthaprabhedataḥ || 85 ||

Rgvbh ๕๕.๗-๙ ตตฺร ปูรฺวโศฺลการฺเธน กิํ ทรฺศยติ ฯ ธรฺมกายาทิปรฺยายา เวทิตวฺยาะ สมาสตะ ฯ จตฺวาโร 'นาสฺรเว ธาเตา จตุรรฺถปฺรเภทตะ ๚ ๘๕ ๚
Tg phi 103b7-104a1 de la tshigs su bcad pa phyed sṅa mas ci ston źe na | mdor na 1 || zag med dbyiṅs la ni || don gyi rab tu dbye ba bźis ||  chos kyi sku la sogs pa yi || rnam graṅs bźir ni reg par bya ||
Takasaki 2 §. Synonyms of the Essence of the Tathāgata. Here, what is shown by the former half of the śloka ? It should be known, in brief, There are synonyms, the Absolute Body and others Since [the Germ] in the Immaculate Sphere Has four meanings from different aspects. || 85 ||

๓๕.ธรฺมกายสฺ
T 1611 Rm-Zs 835c9-14 以是義故。不增不減經言。舍利弗言。如來藏者。即是法身故。又復聖者勝鬘經言。世尊。不離法身有如來藏。世尊。不離如來藏有法身。世尊。依一苦滅諦說名如來藏。世尊。如是說如來法身無量無邊功德。世尊言。涅槃者。即是如來法身故。

Rgvbh 56.1-6 tad yathā dharmakāyas tathāgataḥ paramārthasatyaṃ nirvāṇam iti | yata evam āha | tathāgatagarbha iti śāriputra dharmakāyasyaitad adhivacanam iti | na^anyo bhagavaṃs tathāgato 'nyo dharmakāyaḥ | dharmakāya eva bhagavaṃs tathāgata iti | duḥkhanirodhanāmnā bhagavann evaṃguṇasamanvāgatas tathāgatadharmakāyo deśita iti | nirvāṇadhātur iti bhagavaṃs tathāgatadharmakāyasyaitad adhivacanam iti |
Rgvbh ๕๖.๑-๖ ตทฺ ยถา ธรฺมกายสฺ ตถาคตะ ปรมารฺถสตฺยํ นิรฺวาณมฺ อิติ ฯ ยต เอวมฺ อาห ฯ ตถาคตครฺภ อิติ ศาริปุตฺร ธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ อิติ ฯ น อนฺโย ภควํสฺ ตถาคโต 'นฺโย ธรฺมกายะ ฯ ธรฺมกาย เอว ภควํสฺ ตถาคต อิติ ฯ ทุะขนิโรธนามฺนา ภควนฺนฺ เอวํคุณสมนฺวาคตสฺ ตถาคตธรฺมกาโย เทศิต อิติ ฯ นิรฺวาณธาตุรฺ อิติ ภควํสฺ ตถาคตธรฺมกายสฺไยตทฺ อธิวจนมฺ อิติ ฯ 

ดังที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ ว่า | ดูก่อนศารีบุตร คำว่า ตถาคตครรภ์ นี้เป็นชื่อของธรรมกาย | พระผู้มีพระภาคเจ้า ตถาคต และธรรมกาย ใช่ต่างจากกันและกัน | ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ธรรมกายนั่นเอง ก็คือ ตถาคต | ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ท่านแสดงธรรมกายแห่งตถาคตอันประกอบด้วยคุณที่มีลักษณะอย่างนี้ ด้วยชื่อว่าการดับทุกข์ (ทุกขนิโรธ) | ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า คำว่า นิพพานธาตุ นี้ เป็นชื่อของธรรมกายแห่งตถาคต

As he said in this way, 'Sāriputta, the word "Tathagata" is the name of the Dhammakaya. | The Blessed One, the Tathagata and the Dhammakaya are not different from each other. | Dhammakaya itself is the Tathagata | He expressed the Dhammakaya of the Tathagata which consists of qualities that have this characteristic. With the name of the cessation of suffering (dukkhanirodha) | The Blessed One, the word nirvana is the name of the Dhammakaya of the Tathagata.

          ปรมารฺถ อิติ ศาริปุตฺร สตฺตฺวธาโตเรตทธิวจนมฺฯ สตฺตฺวธาตุริติ ศาริปุตฺร ตถาคตครฺภสฺไยตทธิวจนมฺฯ ตถาคตครฺภ อิติ ศาริปุตฺร ธรฺมกายสฺไยตทธิวจนมฺฯ 
ดูก่อนศารีบุตร เพราะว่า เป้าหมายอันสูงสุด(ปรมัตถะ) พึงบรรลุได้ด้วยศรัทธา | ดูก่อนสารีบุตร คำว่า ปรมัตถะ นี้ เป็นชื่อของ สัตตวธาตุ | ดูก่อนศารีบุตร คำว่า สัตตวธาตุ นี้ เป็นชื่อเรียกของตถาตครรภ์ | ดูก่อนศารีบุตร คำว่า ตถาคตครรภ์ นี้เป็นชื่อของธรรมกาย |

Sāriputta, because the highest goal (paramattha) can be attained by faith. | Sāriputta, the word paramattha is the name of sattavadhatu. | Sāriputta, this word sattvadhatu. It is the name of the Tathagata. | See, Sāriputta, the word Tathagata is the name of the Dhammakaya.

Tg phi 104a6-104b2 'di lta ste | chos kyi sku daṅ | de bźin 7 gśegs pa daṅ | don dam pa'i bden pa daṅ | mya ṅan las 'das pa źes bya ba ste | gaṅ gi phyir 'di skad ces | śā ri'i bu de bźin gśegs pa'i sñiṅ po źes bya ba 'di ni chos kyi sku'i tshig bla dags so źes bya ba daṅ | bcom ldan 'das de bźin gśegs pa gźan la | 1 chos kyi sku gźan pa ni ma lags kyi | bcom ldan 'das chos kyi sku ñid de bźin gśegs pa lags so źes bya ba daṅ | bcom ldan 'das sdug bsṅal 'gog pa źes bgyi ba yon tan 'di lta bu daṅ ldan pa'i de bźin gśegs pa'i chos kyi skur bstan to źes bya ba daṅ | 2 bcom ldan 'das mya ṅan las 'das pa'i dbyiṅs źes bgyi ba 'di ni de bźin gśegs pa'i chos kyi sku'i tshig bla dgas lags so źes gsuṅs pa yin no ||
Takasaki 2 It is said as follows :"The Matrix of the Tathāgata, Ṥāriputra, is the name for the Absolute Body. "Lord, the Tathāgata and the Absolute Body, these both are not different from each other. The Absolute Body is, Lord, nothing but the Tathāgata". "Under the name of the Extinction of the Suffering, Lord, there is indicated the Absolute Body of the Tathāgata, being endowed with such properties". "The Sphere of the Nirvāṇa, Lord, is the name for the Absolute Body of the Tathāgata".
๓๖.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 838b4-5 法身及真如 如來性實體三種及一種 五種喻示現

Rgvbh 69.19-20 svabhāvo dharmakāyo 'sya tathatā gotram ity api | tribhir ekena sa jñeyaḥ pañcabhiś ca nidarśanaiḥ || 144 ||

สฺวภาโว ธรฺมกาโย 'สฺย ตถตา โคตฺรมฺ อิตฺยฺ อปิ ฯ ตฺริภิรฺ เอเกน ส ชฺเญยะ ปญฺจภิศฺ จ นิทรฺศไนะ ๚ ๑๔๔ ๚
ธรรมชาติ (สวภาวะ) ของตถาคตครรภ์นี้ เป็นธรรมกาย เป็นตถตา เป็นโคตร |

Tg phi 110a7-110b1 'di yi raṅ bźin chos sku daṅ || de bźin ñid daṅ rigs kyaṅ ste || de ni dpe gsum gcig daṅ ni || 1 lṅa rnams kyis ni śes par bya ||

Takasaki 284 The Nature of this [Essence] is the Absolute Body, The Reality, as well as the Germ, Which is known by the examples, Three, one and five, [respectively]. || 144 ||

๓๗.ธรฺมกายสฺวภาวะ
T 1611 Rm-Zs 838b6-12 此偈明何義。初三種喻示現如來法身應知。三種譬喻者。所謂諸佛美蜜堅固。示現法身。偈言法身故。一種譬喻者。所謂真金示現真如。偈言真如故。又何等為五種譬喻。一者地藏。二者樹。三者金像。四者轉輪聖王五者寶像。能生三種佛身。示現如來性。偈言如來性故。

Rgvbh 69.21-70.1 tribhir buddhabimbamadhusāradṛṣṭāntair dharmakāyasvabhāvaḥ sa dhātur avagantavyaḥ | ekena suvarṇadṛṣṭāntena tathāgatasvabhāvaḥ | pañcabhir nidhitaruratnavigrahacakravartikanakabimbadṛṣṭāntais trividhabuddhakāya^utpattigotrasvabhāva iti |
Rgvbh ๖๙.๒๑-๗๐.๑ ตฺริภิรฺ พุทฺธพิมฺพมธุสารทฤษฺฏานฺไตรฺ ธรฺมกายสฺวภาวะ ส ธาตุรฺ อวคนฺตวฺยะ ฯ เอเกน สุวรฺณทฤษฺฏานฺเตน ตถาคตสฺวภาวะ ฯ ปญฺจภิรฺ นิธิตรุรตฺนวิคฺรหจกฺรวรฺติกนกพิมฺพทฤษฺฏานฺไตสฺ ตฺริวิธพุทฺธกาย อุตฺปตฺติโคตฺรสฺวภาว อิติ ฯ

Tg phi 110b1-2 saṅs rgyas kyi gzugs daṅ | sbraṅ rtsi daṅ | 'bru'i sñiṅ po'i dpe gsum gyis ni khams de chos kyi sku'i raṅ bźin du śes par bya'o || gser gyi dpe gcig gis ni de bźin ñid kyi raṅ bźin lta byu'o || gter daṅśiṅ daṅ rin po che'i 2 sku daṅ 'khor los sgyur ba daṅ | gser gyi gzugs kyi dpe lṅas ni saṅs rgyas kyi sku gsum bskyes pa'i rigs kyi raṅ bźin du'o ||
Takasaki 284 By the 3 examples, i.e. those of the image of the Buddha, honey and the kernel [of grains], this Essence is to be understood as being of the nature of the Absolute Body. By one example, i.e. that of gold, its being of the nature of Reality, and by [the remaining] 5 examples, i.e. those of the treasure, the tree, the precious image, the highest Lord of Universe, and the golden statue, its being of the nature of the Germ from which the 3 kinds of Buddha's Body are originated [is to be understood].
๓๘.ธรฺมกายะ
T 1611 Rm-Zs 838b12-14 法身者。偈言法身有二種 清淨真法界及依彼習氣 以深淺義說

Rgvbh 70.1-4 tatra dharmakāyaḥ katamaḥ dharmakāyo dvidhā jñeyo dharmadhātuḥ sunirmalaḥ | tanniṣyandaś ca gāmbhīryavaicitryanayadeśanā || 145 ||

Rgvbh ๗๐.๑-๔ ตตฺร ธรฺมกายะ กตมะ ธรฺมกาโย ทฺวิธา ชฺเญโย ธรฺมธาตุะ สุนิรฺมละ ฯ ตนฺนิษฺยนฺทศฺ จ คามฺภีรฺยไวจิตฺรฺยนยเทศนา ๚ ๑๔๕ ๚

ในคำว่า ธรรมกายนั้น ธรรมกายพึงรู้ได้ ด้วยลักษณะทั้ง คือ ธรรมธาตุที่ปราศจากมลทินอย่างสมบูรณ์ และการไหลออกมาจากธรรมธาตุนั้น อันได้แก่ คำสอนที่ลึกซึ้งและมีนัยหลากหลาย | 145 |

Dhammakaya can be known With both characteristics, that is, Dhamma Dhatu that is completely free of impurities. and the flowing out of that Dhamma Dhatu, which is teachings that are profound and have many meanings.

Tg phi 110b2-3 de la chos kyi sku gaṅźe na ||  chos sku rnam gñis śes bya ste || chos dbyiṅs śin tu dri med daṅ || de yi rgyu mthun zab pa daṅ || sna 3 tshogs tshul ni ston pa'o ||

Takasaki 284
(a. Dharmakāya.) Here, how is the Absolute Body? The Absolute Body is to be known in 2 aspects, [One] is the Absolute Entity which is perfectly immaculate, [The other] is its natural outflow, the teaching Of the profound [truth] and of the diverse guidance. || 145 ||
๓๙.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 838b15-18 此偈明何義。諸佛如來有二種法身。何等為二。一者寂靜法界身。以無分別智境界故。如是諸佛如來法身。唯自內身法界能證應知。偈言清淨真法界故。
Rgvbh 70.5-7 dvividho buddhānāṃ dharmakāyo 'nugantavyaḥ | suviśuddhaś ca dharmadhātor avikalpajñānagocaraviṣayaḥ | sa ca tathāgatānāṃ pratyātmam adhigamadharmam adhikṛtya veditavyaḥ |
Rgvbh ๗๐.๕-๗ ทฺวิวิโธ พุทฺธานํา ธรฺมกาโย 'นุคนฺตวฺยะ ฯ สุวิศุทฺธศฺ จ ธรฺมธาโตรฺ อวิกลฺปชฺญานโคจรวิษยะ ฯ ส จ ตถาคตานํา ปฺรตฺยาตฺมมฺ อธิคมธรฺมมฺ อธิกฤตฺย เวทิตวฺยะ ฯ

Tg phi 110b3-4 saṅs rgyas kyi chos kyi sku ni rnam par gñis su rtogs par bya'o || śin tu rnam par dag pa'i chos kyi dbyiṅs ni | rnam par mi rtog pa'i spyod yul gyi yul lo || de yaṅ de bźin gśegs pa rnams kyi so so raṅ gis rig par bya ba'i chos kyi 4 dbaṅ du byas te rtogs par bya'o ||
Takasaki 284-285 The absolute body of the Buddha is to be understood in 2 aspects, [Namely], 1) the perfectly pure Absolute Entity itself, which is the acting sphere of Non-discriminative Wisdom; and this is to be known in the reference to the Truth realized by the Tathāgata through introspection.
๔๐.ตถาคตธรฺมกาเยน
T 1611 Rm-Zs 838c1-6 此偈明何義。諸佛美蜜及堅固等三種譬喻。此明如來真如法身有二種義。一者遍覆一切眾生。二者遍身中有無有餘殘。示現一切眾生有如來藏。此以何義。於眾生界中無有一眾生離如來法身在於法身外。離於如來智在如來智外。如種種色像不離虛空中。

Rgvbh 70.16-19 ity evam ebhis tribhir buddhabimbamadhusāradṛṣṭāntais tathāgatadharmakāyena niravaśeṣasattvadhātuparispharaṇa^artham adhikṛtya tathāgatasya^ime garbhāḥ sarvasattvā iti paridīpitam | na hi sa kaścit sattvaḥ sattvadhātau saṃvidyate yas tathāgatadharmakāyād bahir ākāśadhātor iva rūpam |
Rgvbh ๗๐.๑๖-๑๙ อิตฺยฺ เอวมฺ เอภิสฺ ตฺริภิรฺ พุทฺธพิมฺพมธุสารทฤษฺฏานฺไตสฺ ตถาคตธรฺมกาเยน นิรวเศษสตฺตฺวธาตุปริสฺผรณ อรฺถมฺ อธิกฤตฺย ตถาคตสฺย อิเม ครฺภาะ สรฺวสตฺตฺวา อิติ ปริทีปิตมฺ ฯ น หิ ส กศฺจิตฺ สตฺตฺวะ สตฺตฺวธาเตา สํวิทฺยเต ยสฺ ตถาคตธรฺมกายาทฺ พหิรฺ อากาศธาโตรฺ อิว รูปมฺ ฯ

ดังนั้น เพื่อจะกระทำให้แจ้งถึงความที่แห่งสัตตวธาตุทั้งหลายโดยไม่มีส่วนเหลือ เป็นผู้มีธรรมกายแห่งพระตถาคตแทรกซึมอยู่ข้างใน ท่านแสดงว่า สรรพสัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ มีตถาคตครรภ์ (อยู่กายใน) ด้วยอุปมา 3 อย่างเหล่านี้ คือ พระพุทธรูป น้ำผึ้ง เนื้อในของเมล็ด อย่างนี้

Therefore, in order to make known the existence of all sentient beings without any residue. He has the Dhammakaya of the Tathagata permeating within him. He shows that all these sentient beings have a Tathagata (inner body) through these three similes: a Buddha image, honey, and the contents of a seed.


Tg phi 110b7-111a2 de ltar saṅs rgyas kyi gzugs daṅ 1 || sbraṅ rtsi daṅ sñiṅ po'i dpe 'di gsum gyis ni | de bźin gśegs pa'i chos kyi skus lus pa med pa'i sems can gyi khams khyab pa'i don gyi dbaṅ du byas nas | sems can 'di dag ni de bźin gśegs pa'i sñiṅ bo can yin no źes bstan no || gaṅźig 2 de bźin gśegs pa'i chos kyi sku las phyi rol du gyur ba'i sems can de ni 'ga' yaṅ sems can gyi khams na med de | nam mkha'i khams ni gzugs bźin no ||
Takasaki 286 Thus, by 3 examples, those of the image of the Buddha the honey and the kernel, in reference to the meaning that all living beings, with no exception, are penetrated by the Absolute Body of the Tathāgata, it is explained that these, all living beings, are the Matrix (interior) of the Tathāgata, (i.e. the Matrix in which the Tathāgata penetrates). Indeed, there is no one among the living beings who stands outside the Absolute Body of the Tathāgata, just as no kind of physical form can exist outside of space.

๔๑.ธรฺมกาย
T 1611 Rm-Zs 839b6-9 此明何義。明如來藏究竟如來法身不差別。真如體相畢竟定佛性體。於一切時一切眾生身中皆無餘盡應知。此云何知依法相知。

Rgvbh 73.9-11 sa khalv eṣa tathāgatagarbho dharmakāya^avipralambhas tathatāsaṃbhinnalakṣaṇo niyatagotrasvabhāvaḥ sarvadā ca sarvatra ca niravaśeṣayogena sattvadhātāv iti draṣṭavyaṃ dharmatāṃ pramāṇīkṛtya |
Rgvbh ๗๓.๙-๑๑ ส ขลฺวฺ เอษ ตถาคตครฺโภ ธรฺมกาย อวิปฺรลมฺภสฺ ตถตาสํภินฺนลกฺษโณ นิยตโคตฺรสฺวภาวะ สรฺวทา จ สรฺวตฺร จ นิรวเศษโยเคน สตฺตฺวธาตาวฺ อิติ ทฺรษฺฏวฺยํ ธรฺมตํา ปฺรมาณีกฤตฺย ฯ

ดังนั้น เมื่อจะกระทำซึ่งธรรมชาติ (แห่งตถาคตครรภ์ ]ให้เป็นประมาณ พึงทราบว่า ตถาคตครรภ์นี้นั้น อยู่ร่วมกับธรรมกาย มีลักษณะที่ไม่อาจแบ่งแยกจากความจริง (ตถตา) และมีธรรมชาติ(สวภาวะ) คือโคตรที่ถูกกำหนดไว้แน่นอน/เพื่อการบรรลุถึงความเป็นพระตถาคต (ตถคตภาวะ) มีอยู่ทุกหนทุกแห่งและมีอยู่ตลอดเวลา และโดยไม่มียกเว้น ในสัตตวธาตุทั้งหลายดังนี้

Therefore, when acting naturally (of Tathagata pregnancy) ]to be approximated, it should be known that this Tathagata is Living together with Dhammakaya It has characteristics that cannot be separated from reality (tathāta) and nature (savabhāva), that is, the lineage that is definite/for the attainment of Tathagatahood (tathagata bhāva). It is everywhere and exists. all the time and without exception in all the elements as follows

Tg phi 112a5-6 chos kyi sku ltar rgya che ba de bźin gśegs pa daṅ dbyer med pa'i mtshan ñid des pa'i rigs kyi raṅ bźin de bźin gśegs 6 pa'i sñiṅ po de yaṅ thams cad kyi tshe thams cad la khyad par med pa'i tshul du yod do źes bya ba'i bar ni | chos ñid tshad mar byas nas blta bar bya ste | 
Takasaki 294
(X. THE ESSENTIAL CHARACTERISTICS OF THE MATRIX OF THE TATHĀGATA) §1. The Saying: All Living Beings are Possessed of the Matrix of the Tathāgata - is the Highest Logical Truth.) Now, this Matrix of the Tathāgata, being united with the Absolute Body, having the characteristics inseparable from Reality, and being of the nature of the germ properly fixed [towards the attainment of the Buddhahood], exists everywhere, at whatever time and without exception among the living beings, this is indeed to be perceived in the light of the Absolute Essence as the [highest] logical ground.

๔๒.ธรฺมกายปฺราปฺติวิธุรมารฺค
T 1611 Rm-Zs 839c12-15 如是聲聞辟支佛等。一切不能如實隨順法身修行。以是義故。第一彼岸常樂我淨法。非彼聲聞辟支佛等所知境界。

Rgvbh 74.17-19 evam anena paryāyeṇa sarvaśrāvakapratyekabuddhānām api dharmakāyaprāptividhuramārga^abhiratatvād agocaraḥ sa paramanityasukha^ātmaśubhalakṣaṇo dhātur ity uktam |
Rgvbh ๗๔.๑๗-๑๙ เอวมฺ อเนน ปรฺยาเยณ สรฺวศฺราวกปฺรตฺเยกพุทฺธานามฺ อปิ ธรฺมกายปฺราปฺติวิธุรมารฺค อภิรตตฺวาทฺ อโคจระ ส ปรมนิตฺยสุข^อาตฺมศุภลกฺษโณ ธาตุรฺ อิตฺยฺ อุกฺตมฺ ฯ

Tg phi 113a2-3 de ltar rnam graṅs 'dis ni chos kyi sku thob pa daṅ 'gal ba'i lam la mṅon par dga' ba'i phyir mchog tu rtag pa daṅ | bde 3 ba daṅ | bdag daṅ | sdug pa'i mtshan ñid kyi khams de ni ñan thos daṅ | raṅ saṅs rgyas thams cad kyi yaṅ spyod yul ma yin no źes bśad pa yin no ||
Takasaki 297-298 Thus, in such a way, all the Ṥrāvakas and Pratyekabuddhas are attached to the Path which is quite opposite to the realization of the Absolute Body, and hence the Essence [of the Tathāgata] which is characterized as the Supreme Eternity, the Supreme Bliss, the Supreme Unity, and the Supreme Purity, is said not to be accessible to them, too.

๔๓.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 840b4-6 又如是出世間法身如來藏。非顛倒眾生境界。已說以無常等世間法對治出世間法界未現前故。

Rgvbh 76.18-19 yathā dharmakāyo lokottaradharmagarbhas tathā viparyāsa^abhiratānām agocara ity uktam anitya^ādilokadharmapratipakṣeṇa lokottaradharmaparidīpanāt |
Rgvbh ๗๖.๑๘-๑๙ ยถา ธรฺมกาโย โลโกตฺตรธรฺมครฺภสฺ ตถา วิปรฺยาส^อภิรตานามฺ อโคจร อิตฺยฺ อุกฺตมฺ อนิตฺย^อาทิโลกธรฺมปฺรติปเกฺษณ โลโกตฺตรธรฺมปริทีปนาตฺ ฯ

Tg phi 114a7-114b1 ji ltar chos kyi sku 'jig rten las 'das pa'i sñiṅ 1 po yin pa de ltar ni phyin ci log la mṅon par dga' ba rnams kyi spyod yul ma yin no źes brjod do || 'jig rten las 'das pa'i chos kyi sku ni mi rtag pa la sogs pa 'jig rten pa'i chos kyi gñen por bstan pa'i phyir ro ||
Takasaki 303 Inasmuch as it represents the Matrix of the Absolute Body, or the Matrix of the Transcendental Element, it is said not to be accessible to 'those who are attached to delusion' since the Transcendental Element is spoken of as being an antidote against the mundane elements of such nature as evanescence, etc.

๔๔.อวินิรฺภาคโลโกตฺตรธรฺมกายปฺรภาวิตานามฺ
T 1611 Rm-Zs 840b6-9 又如是自性清淨法界如來空藏。非散亂心失空眾生境界。已說以煩惱垢客塵染。空自性清淨功德法不相捨離。出世間法身得名故。

Rgvbh 76.19-77.1 yathā prakṛtipariśuddhadharmagarbhas tathā śūnyatāvikṣiptānām agocara ity uktam āgantukamalaśūnyatāprakṛtitvād viśuddhiguṇadharmāṇām avinirbhāgalokottaradharmakāyaprabhāvitānām iti |
Rgvbh ๗๖.๑๙-๗๗.๑ ยถา ปฺรกฤติปริศุทฺธธรฺมครฺภสฺ ตถา ศูนฺยตาวิกฺษิปฺตานามฺ อโคจร อิตฺยฺ อุกฺตมฺ อาคนฺตุกมลศูนฺยตาปฺรกฤติตฺวาทฺ วิศุทฺธิคุณธรฺมาณามฺ อวินิรฺภาคโลโกตฺตรธรฺมกายปฺรภาวิตานามฺ อิติ ฯ

Tg phi 114b1-2 ji ltar chos kyi sku yoṅs su dag pa'i chos kyi sñiṅ po yin pa de ltar 2 ni stoṅ ba ñid las sems rnam par gyeṅs pa rnams kyi spyod yul ma yin no źes brjod do || de rnam par dag pa'i yon tan gyis chos rnam par dbye ba med pa 'jig rten las 'das pa'i chos kyi skus rab tu phye ba rnams ni glo bur gyi dri mas stoṅ ba'i raṅ bźin yin pa'i phyir ro ||
Takasaki 303 [Furthermore], inasmuch as it represents the Matrix of the properties, perfectly pure by nature, [the Matrix of the Tathāgata] is said not to be accessible to 'those whose mind has deviated from Non-substantiality' since the [Buddha's] pure virtuous Properties, being represented by the Transcendental Absolute Body which is indivisible from them, are by nature devoid of accidental pollutions.
๔๕. โลโกตฺตรธรฺมกายปฺรกฤติปริศุทฺธิวฺยวโลกนมฺ
T 1611 Rm-Zs 840b9-12 此明何義。又依一味等味法界無差別智門觀察出世間自性清淨法身。是名如實知見真如。是故經說。十住菩薩唯能少分見如來藏。何況凡夫二乘人等。

Rgvbh 77.2-4 tatra yad ekanayadharmadhātvasaṃbhedajñānamukham āgamya lokottaradharmakāyaprakṛtipariśuddhivyavalokanam idam atra yathābhūtajñānadarśanam abhipretaṃ yena daśabhūmisthitā bodhisattvās tathāgatagarbham īṣat paśyanti^ity uktam |
Rgvbh ๗๗.๒-๔ ตตฺร ยทฺ เอกนยธรฺมธาตฺวสํเภทชฺญานมุขมฺ อาคมฺย โลโกตฺตรธรฺมกายปฺรกฤติปริศุทฺธิวฺยวโลกนมฺ อิทมฺ อตฺร ยถาภูตชฺญานทรฺศนมฺ อภิเปฺรตํ เยน ทศภูมิสฺถิตา โพธิสตฺตฺวาสฺ ตถาคตครฺภมฺ อีษตฺ ปศฺยนฺติ^อิตฺยฺ อุกฺตมฺ ฯ

Tg phi 114b2-4 de la tshul 3 gcig po chos kyi dbyiṅs daṅ tha mi dad pa'i ye śes kyi sgo rtogs nas | 'jig rten las 'das pa'i chos kyi sku'i raṅ bźin gyis yoṅs su dag pa la lta ba gaṅ yin pa 'di ni 'dir gaṅ gis sa bcu la gnas pa'i byaṅ chub sems dpas de bźin gśegs pa'i sñiṅ po cuṅ zad 4 mthoṅṅo źes gsuṅs pas yaṅ dag pa ji lta ba bźin gyi ye śes kyis kun mthoṅ bar 'dod do ||
Takasaki 303-304 Here, to perceive that the Transcendental Absolute Body is perfectly pure by nature, by means of the cognition of the unique introduction to the Wisdom which is essentially connected with the Absolute Essence, implies here the True Intuition. On account of this perception, it is said that [even] those Bodhisattvas who are abiding in their 10 Stages can [but] slightly understand the Matrix of the Tathāgata.

๔๖.ธรฺมกายํ 
T 1611 Rm-Zs 840b13-21 是故偈言譬如薄雲中 見虛空有日淨慧諸聖人 見佛亦如是聲聞辟支佛 如無眼目者不能觀如來 如盲不見日所知一切法 有無量無邊遍虛空法界 無量智能見諸如來法身 充滿一切處佛智慧能見 以無量智故

Rgvbh 77.4-8 evaṃ hy āha | chidra^abhre nabhasi^iva bhāskara iha tvaṃśuddhabuddhi^īkṣaṇair āryair apy avalokyase na sakalaḥ prādeśikībuddhibhiḥ | jñeya^anantanabhastalapravisṛtaṃ te dharmakāyaṃ tu te sākalyena vilokayanti bhagavan yeṣām anantā matir iti ||
Rgvbh ๗๗.๔-๘ เอวํ หฺยฺ อาห ฯ ฉิทฺร^อเภฺร นภสิ^อิว ภาสฺกร อิห ตฺวํศุทฺธพุทฺธิ^อีกฺษไณรฺ อารฺไยรฺ อปฺยฺ อวโลกฺยเส น สกละ ปฺราเทศิกีพุทฺธิภิะ ฯ ชฺเญย^อนนฺตนภสฺตลปฺรวิสฤตํ เต ธรฺมกายํ ตุ เต สากลฺเยน วิโลกยนฺติ ภควนฺ เยษามฺ อนนฺตา มติรฺ อิติ ๚

Tg phi 114b4-5 de skad du | sprin mthoṅ mkha' la ñi bźin 'dir khyod phyogs gcig blo gros can ||  blo mig dag pa'i 'phags rnams kyis kyaṅ thams cad mthoṅ ma lags || bcom ldan 'das 5 khyod chos sku gaṅ dag blo gros mtha' yas ba ||  śes bya mtha' med mkha' dbyiṅs khyab pa de dag gis kun mthoṅ || źes gsuṅs so ||
Takasaki 304 Indeed, thus it is said: "[ O Lord], thou art unable to be seen fully, Just as here the sun, in the sky with torn clouds, Even by the Saints, of pure intellectual vision, Since their intellect is still partial; O Lord, only those whose Wisdom is illimitable Can completely perceive thy Absolute Body Which pervades everything knowable That is infinite like space".

๔๗.ตถาคตธรฺมกาเย
T 1611 Rm-Zs 841a10-15 實體者。向說如來藏不離煩惱藏所纏。以遠離諸煩惱轉身得清淨。是名為實體應知。偈言淨故。是故聖者勝鬘經言。世尊。若於無量煩惱藏所纏如來藏不疑惑者。於出無量煩惱藏法身亦無疑惑故。

Rgvbh 79.9-13 tatra yo 'sau dhātur avinirmuktakleśakośas tathāgatagarbha ity ukto bhagavatā | tadviśuddhir āśrayaparivṛtteḥ svabhāvo veditavyaḥ | yata āha | yo bhagavan sarvakleśakośakoṭigūḍhe tathāgatagarbhe niṣkāṅkṣaḥ sarvakleśakośavinirmuktes tathāgatadharmakāye 'pi sa niṣkāṅkṣa iti |
Rgvbh ๗๙.๙-๑๓ ตตฺร โย 'เสา ธาตุรฺ อวินิรฺมุกฺตเกฺลศโกศสฺ ตถาคตครฺภ อิตฺยฺ อุกฺโต ภควตา ฯ ตทฺวิศุทฺธิรฺ อาศฺรยปริวฤตฺเตะ สฺวภาโว เวทิตวฺยะ ฯ ยต อาห ฯ โย ภควนฺ สรฺวเกฺลศโกศโกฏิคูเฒ ตถาคตครฺเภ นิษฺกางฺกฺษะ สรฺวเกฺลศโกศวินิรฺมุกฺเตสฺ ตถาคตธรฺมกาเย 'ปิ ส นิษฺกางฺกฺษ อิติ ฯ

Tg phi 115b3-5 de la khams gaṅźig ñon moṅs pa'i sbubs las ma grol ba | de bźin gśegs pa'i sñiṅ po źes brjod pa de rnam par dag pa ni gnas yoṅs su gyur ba'i ṅo bo ñid du rig par bya ste | gaṅ gi phyir bcom 4 ldan 'das gaṅźig ñon moṅs pa'i sbubs bye ba sñed mtha' dag gis g-yogs pa de bźin gśegs pa'i sñiṅ po la dogs pa ma mchis pa de dag ni ñon moṅs pa mtha' dag gi sbubs las grol ba | de bźin gśegs pa'i chos kyi sku la yaṅ dogs pa ma mchis pa lags so 5 źes gsuṅs pa yin no ||
Takasaki 312-312 1) First of all the Essence [of the Buddhahood], which is called by the Lord 'the Matrix of the Tathāgata' when it is unreleased from the sheath of defilements, is to be understood, when it is 'perfectly purified as the 'own-nature' of the [Reality] characterized as the 'Perfect Manifestation of the Basis'. It is said: "O Lord, one who has no doubt about the Matrix of the Tathāgata as it is concealed under the millions of coverings of all defilements , shall likewise have no doubt about the Absolute Body of the Tathāgata which is freed from the coverings of all defilements".
๔๘.อนาวรณธรฺมกายปฺราปฺติรฺ 
T 1611 Rm-Zs 841c26-842a1 又何者是成就自利。謂得解脫遠離煩惱障遠離智障。得無障礙清淨法身。是名成就自身利益。又何者是成就他利益。既得成就自身利已。無始世來自然依彼二種佛身。示現世間自在力行。是名成就他身利益。

Rgvbh 82.6-9 tatra katamā svaparārthasaṃpat | yā savāsanakleśajñeya^āvaraṇavimokṣād anāvaraṇadharmakāyaprāptir iyam ucyate svārthasampattiḥ | yā tadūrdhvam ā lokād anābhogataḥ kāyadvayena saṃdarśanadeśanāvibhūtvadvayapravṛttir iyam ucyate parārthasaṃpattir iti |
Rgvbh ๘๒.๖-๙ ตตฺร กตมา สฺวปรารฺถสํปตฺ ฯ ยา สวาสนเกฺลศชฺเญย^อาวรณวิโมกฺษาทฺ อนาวรณธรฺมกายปฺราปฺติรฺ อิยมฺ อุจฺยเต สฺวารฺถสมฺปตฺติะ ฯ ยา ตทูรฺธฺวมฺ อา โลกาทฺ อนาโภคตะ กายทฺวเยน สํทรฺศนเทศนาวิภูตฺวทฺวยปฺรวฤตฺติรฺ อิยมฺ อุจฺยเต ปรารฺถสํปตฺติรฺ อิติ ฯ

Tg phi 116b7-117a1 de la raṅ daṅ gźan gyi don phun sum tshogs pa gna źe na | gaṅźig bag chags daṅ bcas pa'i ñon moṅs pa daṅśes bya'i sgrib pa las thar pa'i phyir daṅ | sgrib pa med pa'i chos kyi sku thob pa 'di ni raṅ 1 || gi don phun sum tshogs par brjod la | gaṅźig de'i steṅ du 'jig rten ji srid par lhun gyis grub pa sku gñis kyis kun du ston pa daṅ | bstan pa la dbaṅ 'byor ba gñis kyis 'jug pa 'di ni gźan gyi don phun sum mtshogs pa
Takasaki 319 Then, what is the 'fulfillment of one's own aim and of that of others'? That which represents the attainment of the undefiled Absolute Body, as being freed from the obstructions due to Defilements and knowable things along with their potential forces is called the 'fulfillment of one's own aim '. And that which comes after the attainment of the fulfillment of one's own aim, and represents the manifestation, by means of twofold power, viz. I) appearance in the forms of two bodies; and 2) the teaching by means of them, [both of] which continue as long as the world exists, without any effort, it is called the 'fulfilment of the aim of others'.

๔๙.ธรฺมกายสฺย โศธนมฺ
T 1611 Rm-Zs 842a11-13 此四行偈以八行偈略釋應知。偈言略說二種法 業智應當知滿足解脫身 清淨真法身

Rgvbh 835-7 asya khalu ślokatrayasya^arthaḥ samāsato 'ṣṭābhiḥślokair veditavyaḥ | karma jñānadvayasyaitad veditavyaṃ samāsataḥ | pūraṇaṃ muktikāyasya dharmakāyasya śodhanam || 21 ||
Rgvbh ๘๓๕-๗ อสฺย ขลุ โศฺลกตฺรยสฺย^อรฺถะ สมาสโต 'ษฺฏาภิะโศฺลไกรฺ เวทิตวฺยะ ฯ กรฺม ชฺญานทฺวยสฺไยตทฺ เวทิตวฺยํ สมาสตะ ฯ ปูรณํ มุกฺติกายสฺย ธรฺมกายสฺย โศธนมฺ ๚ ๒๑ ๚

Tg phi 117a4 tshigs su bcad pa gsum po 'di'i don ni mdor bsdu na | tshigs su bcad pa brgyad kyis rig bar bya ste |  mdor na ye śes gñis po yi ||  las su 'di ni śes bya ste || 'gro ba'i sku ni rdzogs pa daṅ || chos gyi sku ni sbyoṅ ba'o ||
Takasaki 320 The meaning of these three ślokas, in brief, is to be known by the following 8 verses. The function of the twofold Wisdom In short, is to be known as follows: [One is] the fulfillment of the Body of [innate] liberation, [The other is] the purification of the Absolute Body. || 21 ||
๕๐.วิมุกฺติธรฺมกาเยา
T 1611 Rm-Zs 842a14-15 解脫身法身 二及一應知謂無漏遍至 及究竟無為

Rgvbh 83.8-9 vimuktidharmakāyau ca veditavyau dvirekadhā | anāsravatvād vyāpitvād asaṃskṛtapadatvataḥ || 22 ||
Rgvbh ๘๓.๘-๙ วิมุกฺติธรฺมกาเยา จ เวทิตวฺเยา ทฺวิเรกธา ฯ อนาสฺรวตฺวาทฺ วฺยาปิตฺวาทฺ อสํสฺกฤตปทตฺวตะ ๚ ๒๒ ๚

Tg phi 117a4-5 rnam grol chos kyi sku dag ni ||  rnam gñis 5 rnam gcig śes bya ste ||  zag pa med phyir khyab pa'i phyir || 'dus ma byas pa'i gnas ñid phyir ||
Takasaki 320-321 The Body of innate liberation and the Absolute Body, [Although] being two [in their functions], are to be known as one, Because they are free from passions and all-pervading, And are the immaculate substratum. || 22 ||

๕๑.วิมุกฺติธรฺมกายาภฺยํา
T 1611 Rm-Zs 842b14-16 此二行偈以八行偈略釋應知。偈言解脫身法身示自利利他依自利利他 彼處相應義

Rgvbh 84.11.13 atha khalv asya ślokasya^arthaḥ samāsato 'ṣṭābhiḥślokair veditavyaḥ | vimuktidharmakāyābhyāṃ svaparārtho nidarśitaḥ | svaparārtha^āśraye tasmin yogo 'cintya^ādibhir guṇaiḥ || 30 ||
Rgvbh ๘๔.๑๑.๑๓ อถ ขลฺวฺ อสฺย โศฺลกสฺย^อรฺถะ สมาสโต 'ษฺฏาภิะโศฺลไกรฺ เวทิตวฺยะ ฯ วิมุกฺติธรฺมกายาภฺยํา สฺวปรารฺโถ นิทรฺศิตะ ฯ สฺวปรารฺถ^อาศฺรเย ตสฺมินฺ โยโค 'จินฺตฺย^อาทิภิรฺ คุไณะ ๚ ๓๐ ๚

Tg phi 117b3-4 tshigs su bcad pa 'di'i don ni 4 mdor bsdu na tshigs su bcad pa brgyad kyis rig par bya ste |  rnam grol chos kyi sku dag gis ||  raṅ daṅ gźan gyi don bstan te ||  raṅ bźan don rten de la ni ||  bsam mi khyab sogs yon tan ldan ||
Takasaki 322-323 Now, the meaning of this śloka is, in short, to be known by the following 8 verses. The [fulfillment of] one's own aim and of that of others Are represented by the Bodies of Liberation and of the Absolute; On this foundation of one's own aim and of that of others There is the 'union' of properties, 'inconceivable' and others. || 30 ||

๕๒.ธรฺมกายาทฺ 
T 1611 Rm-Zs (no chi)
Rgvbh 87.15-16 mahākaruṇayā kṛtsnaṃ lokam ālokya lokavit | dharmakāyād aviralaṃ nirmāṇaiś citrarūpibhiḥ || 53 ||
Rgvbh ๘๗.๑๕-๑๖ มหากรุณยา กฤตฺสฺนํ โลกมฺ อาโลกฺย โลกวิตฺ ฯ ธรฺมกายาทฺ อวิรลํ นิรฺมาไณศฺ จิตฺรรูปิภิะ ๚ ๕๓ ๚

[พระพุทธเจ้า] ทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก ทอดพระเนตรเห็นชาวโลกทั้งปวง ด้วยพระมหากรุณา ทรงปรากฏพระองค์มีรูปที่หลากหลายที่เป็นนิรมาณกาย โดยไม่มีการแยกออกจากธรรมกาย |

[Buddha] is the enlightener of the world. He saw all the people of the world. With His Majesty's grace He appeared in various forms that were Nimanakaya. without separation from Dhammakaya |

Tg phi 118b5-6 thugs rje chen pos 'jig rten mkhyen || 'jig rten kun la gzigs nas ni || chos kyi sku 6 las ma g-yos par ||  sprul ba'i raṅ bźin sna tshogs kyis ||
Takasaki 329
(c. The Apparitional Body.) [The Buddha], being the knower of the world, Perceiving fully the world, with Great Compassion, Manifests himself in various apparitional forms, Without being separated from his Absolute Body. || 53 ||

๕๓.ธรฺมกาโย
T 1611 Rm-Zs 843b16-18 法身如來 第二色身佛譬如虛空中 有一切色身於初佛身中 最後身亦爾

Rgvbh 88.13-14 prathamo dharmakāyo 'tra rūpakāyau tu paścimau | vyomni rūpagatasya^iva prathame 'ntyasya vartanam || 61 ||

Rgvbh ๘๘.๑๓-๑๔ ปฺรถโม ธรฺมกาโย 'ตฺร รูปกาเยา ตุ ปศฺจิเมา ฯ วฺโยมฺนิ รูปคตสฺย^อิว ปฺรถเม 'นฺตฺยสฺย วรฺตนมฺ ๚ ๖๑ ๚

Tg phi 119a3 'di ni daṅ po'i chos sku ste || phyi ma dag ni gzugs kyi sku ||  nam mkha' la ni gzugs gnas bźin || daṅ po la ni tha ma gnas ||
Takasaki 331 Here, the first Body is the Absolute Body, And the latter two are the Bodies in visible forms, These latter appear on the basis of the former, As the visible forms appear in space. || 61 ||

๕๔.ธรฺมกายตะ
T 1611 Rm-Zs 843c7-8 初七種譬喻 如來色身常後三種譬喻 善逝法身

Rgvbh 89.14-15 saptabhiḥ kāraṇair ādyair nityatā rūpakāyataḥ | paścimaiś ca tribhiḥ śāstur nityatā dharmakāyataḥ || 68 ||
Rgvbh ๘๙.๑๔-๑๕ สปฺตภิะ การไณรฺ อาทฺไยรฺ นิตฺยตา รูปกายตะ ฯ ปศฺจิไมศฺ จ ตฺริภิะ ศาสฺตุรฺ นิตฺยตา ธรฺมกายตะ ๚ ๖๘ ๚

Tg phi 119a7-119b1 daṅ po yi ni rgyu bdun ni || gzugs kyi sku yi rtag 1 ñid de || phyi ma gsum gyis stoṅ pa na || chos kyi sku yi rtag pa ñid ||

Takasaki 333 The first 7 of these motives show The eternity of the Preceptor in his Apparitional Body, The latter 3 demonstrate the eternity From the viewpoint of the Absolute Body. || 68 ||
๕๕.ธรฺมกายตะ
T 1611 Rm-Zs 843c23-25 前五種譬喻 微細不思議如來法身常 第六譬喻者以得自在故 如來色身常

Rgvbh 90.8-9 pañcabhiḥ kāraṇaiḥ saukṣmyād acintyo dharmakāyataḥ | ṣaṣṭhena^atattvabhāvitvād acintyo rūpakāyataḥ || 72 ||
Rgvbh ๙๐.๘-๙ ปญฺจภิะ การไณะ เสากฺษฺมฺยาทฺ อจินฺตฺโย ธรฺมกายตะ ฯ ษษฺเฐน^อตตฺตฺวภาวิตฺวาทฺ อจินฺตฺโย รูปกายตะ ๚ ๗๒ ๚

Tg phi 119b4 rgyu lṅa dag gis phra ba'i phyir || chos sku bsam mi khyab pa ste || drug pas de yi dṅos min phyir || gzugs sku bsam gyis mi khyab pa'o ||

Takasaki 334-335
Being subtle by the [first] 5 motives He is inconceivable in his Absolute Body, And by the 6th, on account of his Apparitional Body, He is inconceivable because of no identification. With either Nirvāṇa, or Phenomenal World. || 72 ||

๕๖.ธรฺมกายปฺรภาวิตาะ
T 1611 Rm-Zs 845b13-16 三十二功德 依止法身有如世間燈炷 明煖及色相相應無差別 諸如來法身一切諸功德 無差別亦爾

Rgvbh 97.9-10 guṇā dvātriṃśad ity ete dharmakāyaprabhāvitāḥ | maṇiratnaprabhāvarṇasaṃsthānavad abhedataḥ || 37 ||
guṇā dvātriṃśadityete dharmakāyaprabhāvitāḥ| 
maṇiratnaprabhāvarṇasaṃsthānavadabhedataḥ||37||
dvātriṃśallakṣaṇāḥ kāye darśanāhlādakā guṇāḥ| 
nirmāṇadharmasaṃbhogarūpakāyadvayāśritāḥ||38||
คุณา ทฺวาตฺริํศทิตฺเยเต ธรฺมกายปฺรภาวิตาะฯ
มณิรตฺนปฺรภาวรฺณสํสฺถานวทเภทตะ๚๓๗๚
ทฺวาตฺริํศลฺลกฺษณาะ กาเย ทรฺศนาหฺลาทกา คุณาะฯ
นิรฺมาณธรฺมสํโภครูปกายทฺวยาศฺริตาะ๚๓๘๚

คุณสมบัติทั้งหลาย 32 ประการเหล่านี้ ท่านแสดงว่าเป็นธรรมกาย เพราะคุณเหล่านั้นไม่อาจแบ่งแยกออกจากกันได้ เหมือนแก้วมณี ความสว่าง สี และสัณฐาน | 37 | อีกประการหนึ่ง ลักษณะ 32 ประการ เป็นคุณสมบัติที่เห็นได้ และก่อให้เกิดความยินดีในกาย และตั้งอยู่บนรูปกายทั้ง 2 คือ นิรมาณกายและสัมโภคกาย [กายที่ยินดีในธรรม (ความจริง)] | 38 |

All these 32 qualities He shows that it is Dhammakaya. Because you cannot be separated from each other. Like crystal, brightness, color and shape | 37 | Another thing: 32 characteristics are visible qualities. and creates joy in the body and is based on two physical forms, namely the nirmanakaya and the sambhogakaya. [Body delighted in Dhamma (truth)] | 38 |


Tg phi 121b6 de dag yon tan sum cu ni || gñis 'di chos skus rab phye ste || nor bu rin chen 'od mdog daṅ || dbyibs bźin dbye ba med phyir ro ||
Takasaki 349 These 32 Properties mentioned above Represent the Body of the Absolute, Since they are indivisible from it, As with a gem, the lustre, colour and shape. || 37 ||

๕๗.สทฺธรฺมกายํ 
T 1611 Rm-Zs (no chi)
Rgvbh 101.9-10 tad dhi darśanam āgamya kramād asmin naye sthitāḥ | saddharmakāyaṃ madhyasthaṃ paśyanti jñānacakṣuṣā || 26 ||
Rgvbh ๑๐๑.๙-๑๐ ตทฺ ธิ ทรฺศนมฺ อาคมฺย กฺรมาทฺ อสฺมินฺ นเย สฺถิตาะ ฯ สทฺธรฺมกายํ มธฺยสฺถํ ปศฺยนฺติ ชฺญานจกฺษุษา ๚ ๒๖ ๚

Tg phi 123a5 rim gyis de mthoṅ la brten nas ||  theg pa 'di la gnas pa rnams ||  naṅ gi dam pa'i chos sku ni ||  ye śes mig gis mthoṅ bar 'gyur ||
Takasaki 358 Indeed, those who, having seen this vision, Have gradually established them selves in this method, Perceive, with the eyes of transcendental wisdom, The Body of the Highest Truth within them selves. || 26 ||

๕๘.ธรฺมกายาทฺ 
T 1611 Rm-Zs (no chi)
Rgvbh 107.3-4 tadvan munir anābhogān nirmāṇaiḥ sarvadhātuṣu | dharmakāyād avicalan bhavyānām eti darśanam || 54 ||
Rgvbh ๑๐๗.๓-๔ ตทฺวนฺ มุนิรฺ อนาโภคานฺ นิรฺมาไณะ สรฺวธาตุษุ ฯ ธรฺมกายาทฺ อวิจลนฺ ภวฺยานามฺ เอติ ทรฺศนมฺ ๚ ๕๔ ๚

Tg phi 125a7-125b1 de bźin thub pa'i chos sku las ||  bskyon pa med par khams kun tu ||  skal ldan rnams la 'bad med par ||  sprul 1 pa dag gis ston par mdzad ||
Takasaki 368 Similarly, the Buddha, without moving from the Absolute Body, Comes to the sight of the worthy, without any effort, With his apparitional form, in all the worlds. || 54 ||

๕๙.สทฺธรฺมกายานฺ 
T 1611 Rm-Zs 819a22-25 梵宮中不動 常現於欲界諸天見妙色 失五欲境界佛法身不動 而常現世間眾生見歡喜 不樂諸有樂

Rgvbh 107.5-8 yadvad brahmā vimānān na calati satataṃ kāmadhātupraviṣṭaṃ devāḥ paśyanti cainaṃ viṣayaratiharaṃ darṣanaṃ tac ca teṣām | tadvad saddharmakāyān na calati sugataḥ sarvalokeṣu cainaṃ bhavyāḥ paśyanti śaśvatsakalamalaharaṃ darśanaṃ tac ca teṣām || 55 ||
Rgvbh ๑๐๗.๕-๘ ยทฺวทฺ พฺรหฺมา วิมานานฺ น จลติ สตตํ กามธาตุปฺรวิษฺฏํ เทวาะ ปศฺยนฺติ ไจนํ วิษยรติหรํ ทรฺษนํ ตจฺ จ เตษามฺ ฯ ตทฺวทฺ สทฺธรฺมกายานฺ น จลติ สุคตะ สรฺวโลเกษุ ไจนํ ภวฺยาะ ปศฺยนฺติ ศศฺวตฺสกลมลหรํ ทรฺศนํ ตจฺ จ เตษามฺ ๚ ๕๕ ๚

Tg phi 125b1-2 ji ltar tshaṅs rtag gźal yas khaṅ nas mi g-yo 'dod khams źugs pa de ||  lha rnams kyis mthoṅ de mthoṅ de yaṅ yul la dga' ba spoṅ ñed ltar || de bźin bde gśegs chos kyi sku las mi bskyod 'jig rten kun du de || skal ldan kyis 2 mthoṅ de ni mthoṅ de rtag tu dri ma kun sel byed || 
Takasaki 368
Just as with Brahmā, though he never moves from his palace, His manifestation, always pervading the World of Desire, Is seen by gods and causes them to remove the desire of objects lit); Similarly with the Lord, though not moving from the Absolute Body. His sight is seen by the worthy people, in all the worlds, And causes them to remove all the stains forever. || 55 ||

๖๐.ธรฺมกายตะ
白淨法生滅 佛像亦生滅如來不生滅 猶如帝釋王
Rgvbh 113.1-2 śubha udayavyāyād buddhapratibimba udayavyayaḥ | munir na udeti na vyeti śakravad dharmakāyataḥ || 90 ||
Rgvbh ๑๑๓.๑-๒ ศุภ อุทยวฺยายาทฺ พุทฺธปฺรติพิมฺพ อุทยวฺยยะ ฯ มุนิรฺ น อุเทติ น วฺเยติ ศกฺรวทฺ ธรฺมกายตะ ๚ ๙๐ ๚
ศุโภทยวฺยยาทฺธุทฺธํปฺรติพิมฺโพทยวฺยยะฯ

มุนิรฺโนเทติ น วฺเยติ ศกฺรวทฺธรฺมกายตะ๚๙๐๚
Tg phi 127a5-6 dge ba skye daṅ 'jig pas na ||  saṅs rgyas gzugs ni skye daṅ 'jig || 6 brgya byin bźin du thub pa ni ||  chos kyi sku la skye 'jig med ||
Takasaki 377 Owing to the appearance and disappearance of purity, The forms of the Buddha appear and disappear; But, in his Body of the Absolute that is like Indra, The Lord does never appear nor disappear. || 90 ||
๖๑.ธรฺมกายาทฺ 
T 1611 Rm-Zs 818b22-23 此業自然有 見是等現前法身不生滅 盡諸際常住
Rgvbh 113.3-4 ayatnāt kṛtyam ity evaṃ darśana^ādi pravartate | dharmakāyād anutpāda^anirodhād ā bhavasthiteḥ || 91 ||
Rgvbh ๑๑๓.๓-๔ อยตฺนาตฺ กฤตฺยมฺ อิตฺยฺ เอวํ ทรฺศน อาทิ ปฺรวรฺตเต ฯ ธรฺมกายาทฺ อนุตฺปาท อนิโรธาทฺ อา ภวสฺถิเตะ ๚ ๙๑ ๚

Tg phi 127a6 de bźin du ni 'bad med par || 

๖๒.sukho manomayaskandhataddhetuvinivṛttitaḥ| 

nityaḥ saṃsāranirvāṇasamatāprativedhataḥ||38||

(Rgv.l, p.34)

สุโข มโนมยสฺกนฺธตทฺเธตุวินิวฤตฺติตะฯ

นิตฺยะ สํสารนิรฺวาณสมตาปฺรติเวธตะ๚๓๘๚

ธรรมกายแห่งพระตถาคตเป็นสุข เพราะความดับไปแห่งขันธ์ที่สำเร็จด้วยใจ (มโนมัย) และเหตุแห่งขันธ์ที่สำเร็จด้วยใจ (มโนมยขันธ์) นั้น ธรรมกายนั้น เที่ยง เพราะรู้แจ้งถึงความเสมอกันของสังสารและนิพพาน

The Dhammakaya of the Tathagata is happy. Because of the cessation of the khandhas that are accomplished with the mind (manomai) and the cause of the khandhas that are accomplished with the mind (manomayakhandha), the dhammakaya is stable because it knows the equality of samsara and nirvana.

๖๓. dvābhyāṃ kāraṇābhyāṃ nityapāramitā veditavyā| anityasasārānapakaraṇāta ścocchedāntā patanān nityanirvāṇasamāropaataśca śāśvatāntāpatanāt|

ทฺวาภฺยํา การณาภฺยํา นิตฺยปารมิตา เวทิตวฺยาฯ อนิตฺยสํสารานปกรฺษณาต ศฺโจจฺเฉทานฺตา ปตนานฺ นิตฺยนิรฺวาณสมาโรปณตศฺจ ศาศฺวตานฺตาปตนาตฺฯ (Rgv.I, p.34)

พึงทราบความเที่ยงอันสูงสุด (นิตยปารมิตา) ด้วยเหตุ 2 ประการ ! คือ เพราะไม่ตกไปในความเห็นอันเป็นที่สุดโต่งที่ยึดว่าขาดสูญ (อุจเฉททิฏฐิ) เหตุเพราะธรรมกายแห่งพระตถาคตไม่ได้จมอยู่ในสังสารที่ไม่เที่ยง (1) เพราะไม่ได้ตกไปในความเชื่ออันเป็นที่สุดโต่ง เหตุเพราะไม่มีการยึดถือนิพพานว่าเป็นของเที่ยง

Be aware of the highest precision. (Nittayaparamita) for two reasons! That is, because one does not fall into the extreme opinion that holds that it is lost. (Uccedaddhi) Because the Dhammakaya of the Tathagata is not immersed in impermanent samsara (1) because it is not immersed in extreme beliefs. This is because there is no adherence to Nirvana as a permanent thing.

๖๔. buddhakāyatrayāvāptirasmādgotradvayānmatā|

prathamātprathama kāyo dvitī yāddvau tu paścimau||150||

พุทฺธกายตฺรยาวาปฺติรสฺมาทฺโคตฺรทฺวยานฺมตาฯ

ปฺรถมาตฺปฺรถมะ กาโย ทฺวิตี ยาทฺทฺเวา ตุ ปศฺจิเมา๚๑๕๐๚

การเกิดขึ้นซึ่งพุทธกายทั้ง 3 พึงทราบว่า มาจากโคตรทั้ง 2 นี้ จากโคตรที่ 1 (มีอยู่ตั้งแต่กาลอันหาเบื้องต้นมิได้) ได้แก่ กายที่ 1 (ธรรมกาย) จากโคตรที่ 2 (การพัฒนาถึงขั้นสูงสุด) ได้แก่ กายทั้ง 2 กายที่เหลือ (สัมโภคกายและนิรมานกาย) ||150||

The emergence of the 3 Buddha bodies should be known as coming from these 2 lineages, from the 1st lineage (existing since the beginning of time) which is the 1st body (Dhammakaya), from the 2nd lineage (the highest level of development) which is: The remaining two bodies (Sambhogakaya and Nirmanakaya) ||150||

๖๕.jagaccharaamekatra buddhatva pāramārthikam|

munerdharmaśarīratvāt tanniṣṭhatvādgaasya ca||21||

ชคจฺฉรณเมกตฺร พุทฺธตฺวํ ปารมารฺถิกมฺฯ

มุเนรฺธรฺมศรีรตฺวาตฺ ตนฺนิษฺฐตฺวาทฺคณสฺย จ๚๒๑๚

ความเป็นพระพุทธเจ้าอันเป็นเป้าหมายสูงสุด เป็นที่พึ่งของโลกเพียงหนึ่งเดียว เพราะความที่พระมุนีทรงมีร่างกายคือธรรม และเพราะความที่หมู่ (สงฆ์นั้น มีสิ่งนั้นเป็นเป้าหมายสูงสูด

Buddhahood is the ultimate goal. It is the only refuge in the world. Because the Muni's body is Dhamma. And because the group (sangha) has that as their highest goal. | 21 |  (Rgv.I, p.20)


ที่มา
สันสกฤต
จีน อังกฤษ ธิเบต

ไทย