วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์ สมาธิราชสูตร

SHARE
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์ สมาธิราชสูตร
มีทั้งหมด ๑๖ แห่ง
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
สมาธิราชสูตร(Samādhirāja Sūtra)  เป็นวรรณคดีของพุทธศาสนามหายานในยุคแรก ๆ ถือกันว่าเป็นเพชรหนึ่งในเก้าหรือนวธรรมของมหายาน ประกอบด้วย(๑)สัทธรรมปุณฑริกสูตร(๒)อัษฏสาหสริกาปรัชญาปารมิตา (๓)กัณฑวยูหสูตร (๔)ทสภูมิสวระ (๕)สมาธิราชสูตร(๖)ลังกาวตารสูตร (๗) ตถาคตาคหยกะ (๘) ลลิตวิสตระ (๙) สุวรรณประภาส สันนิษฐานว่า น่าจะประพันธ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2 - 6 ไม่ปรากฏนามผู้ประพันธ์ ในฉบับภาษาสันสกฤต พ.ศ. 880-980 เป็นฝ่ายมหายาน มีการดำเนินเรื่องในรูปแบบการถามตอบระหว่างจันทรประภากับพระพุทธเจ้า เป็นพระสูตรที่ลึกซึ้งยิ่งในฝ่ายมหายาน มีอิทธิพลอย่างมากต่อสำนักทางสายกลาง หรือมาธยมก เพราะเนื้อหาพระสูตรก็สอนเรื่องทางสายกลาง หรือแม้แต่เอ่ยว่าทางสายกลางเองก็ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
              สมาธิราชสูตรในส่วนระลึกถึงพระพุทธคุณ มีส่วนขยายมีเนื้อหาคล้ายในอารยตริรัตนานุสมฤติสูตร  ซึ่งเป็นพระสูตรมหายานในยุคแรก ๆ ซึ่งส่วนท้ายของพระพุทธคุณ จะปรากฏมติที่เป็นหลักข้อเชื่อใหญ่ของมหายานโดยเฉพาะ ที่เกียวกับคุณลักษณะและการดำรงอยู่ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และลักษณะแห่งพระนิพพานในแบบมหายาน ซึ่งปรากฏหลักฐานธรรมกาย ดังต่อไปนี้
Samādhirāja Sūtra is an early Mahayana Buddhist literature. It is considered to be one of the nine diamonds or Navadhammas of Mahayana. Consisting of (1) Saddhamma Lotus Sutta (2) Asthasahasarika Prajnaparamita (3) Kanthavayuhasutta (4) Dasabhumiswara (5) Samadhi Raja Sutta (6) Lankavatara Sutta (7) Tathagatakayaka (8) Lalitvistra (9) Suvarnaprabhas. It is assumed that it was probably written in the 2nd - 6th centuries AD. Author's name appears In the Sanskrit version, 880-980 AD, it belongs to the Mahayana side. The story proceeds in the form of a question and answer session between Chandraprabha and the Buddha. It is a very profound sutra in the Mahayana division. It has a great influence on the school of the middle path or Madhyamaka because the content of the sutra also teaches about the middle path. Or even say that the middle path should not be firmly adhered to.
Rajasutta meditation in remembrance of the Buddha There is an extension with content similar to that in the Aryatri Rattana Nusmriti Sutta. which is the Mahayana Sutta of the early period, which is the end of the Buddha's virtues There will appear specific resolutions that are the main tenets of Mahayana beliefs. Concerning the characteristics and existence of the Lord Buddha and the characteristics of Nirvana in the Mahayana style which appears as the following Dhammakaya evidence:

สมาธิราชสูตร
ทราบว่าครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ในเวลานั้นว่า
ผู้ใดปรารถนาจะรู้กายอันเช่นนี้ของพระโลกนาถ เจริญสมาธินี้แล้วจักรู้กายของพระพุทธเจ้า ฯ (1)
Thereupon, the Bhagavān spoke these verses:
                “Someone who wishes to know
This body of the Lord of the World
Should meditate on this samādhi,
And then they will know the Buddha’s body. {1}
于是,薄伽梵说了以下偈颂:
                 “有人想知道
这世界之主的身体
应当修习此三昧,
然后他们就会了知佛身。 {1}
อถ ขลุ ภควำสฺตสฺยำ เวลายามิมา คาถา อภาษต
ย อิจฺเฉ โลกนาถสฺย กายํ ชานิตุมีทฺฤศมฺ |
อิมํ สมาธึ ภาวิตฺวา กายํ พุทฺธสฺย ชฺญาสฺยติ | (1)
                  
atha khalu bhagavāṃstasyāṃ velāyāmimā gāthā abhāṣata
  ya icche lokanāthasya kāyaṃ jānitumīdṛśam |
  imaṃ samādhiṃ bhāvitvā kāyaṃ buddhasya jñāsyati |
กายของพระพุทธเจ้าเกิดจากบุญ บริสุทธิ์ ส่องสว่าง กายนั้นเสมอกับอากาศ
ที่เห็นได้ในระหว่าง(อย่าง) หาความต่างกันไม่ได้(ระหว่าง)กายนั้น(กับอากาศ) ฯ (2)
“A buddha’s body is born from merit.
It is pure and it is brilliant.
It is the same as space;
There is no difference between them. {2}
“佛身是由功德而生的。
它是纯粹的,它是辉煌的。
它与空间相同;
它们之间没有区别。 {2}
ปุณฺยนิรฺชาตุ พุทฺธสฺย กาย: ศุทฺธ: ปฺรภาสฺวร: |
สเมติ โส’นฺตรีเกฺษณ นานาตฺวํ นาสฺย ลภฺยเต | (2)
puṇyanirjātu buddhasya kāya: śuddha: prabhāsvara: |
sameti so’ntarīkeฺṣaṇa nānātvaṃ nāsya labhyate |
โพธิและลักษณะของพระพุทธเจ้าเป็นเช่นใด กายก็เป็นเช่นนั้น ลักษณะของ
พระพุทธเจ้านั้นเป็นเช่นใด ก็กายของพระพุทธเจ้านั้นก็เป็นเช่นนั้น ฯ (3)
“The characteristics of a buddha
Are the same as those of enlightenment.
The characteristics of the body
Are the same as those characteristics. {3}
“佛的特征
与开悟者相同。
身体的特征
与那些特征相同。 {3}
ยาทฺฤศา โพธิรฺพุทฺธสฺย ลกฺษณานิ จ ตาทฺฤศา: |
ยาทฺฤศา ลกฺษณาสฺตสฺย กายสฺตสฺย หิ ตาทฺฤศ: | (3)
yādṛśā bodhirbuddhasya lakṣaṇāni ca tādṛśā: |
yādṛśā lakṣaṇāstasya kāyastasya hi tādṛśa: |

๑.เครื่องประดับธรรมกาย
vitrāsanaṃ mārasenāyā: vidyā keฺṣamagāminām artha: siddhārthā-nām paritrāṇamamitramadhyagatānām pratyarthikanigraha: saha
dharmeṇa satyākaro vaiśāradyānām bhūte paryeṣṭirbālānām pūr-
vanimittamaṣṭhādaśānāmāveṇikānāṃ buddhadharmāṇām |alaṃkāro
dharmakāyasya niṣyandaścaryāyā: ābharaṇaṃ buddhaputrāṇām ratirmokṣakāmānām |
| วิตฺราสนํ มารเสนายา: | วิทฺยา เกฺษมคามินามฺ | อรฺถ: สิทฺธารฺถา-
นามฺ | ปริตฺราณมมิตฺรมธฺยคตานามฺ | ปฺรตฺยรฺถิกนิคฺรห: สห
ธรฺเมณ | สตฺยากโร ไวศารทฺยานามฺ | ภูเต ปรฺเยษฺฏิรฺพาลานามฺ | ปูรฺ-
วนิมิตฺตมษฺฐาทศานามาเวณิกานำ พุทฺธธรฺมาณามฺ |อลํกาโร
ธรฺมกายสฺย |  นิษฺยนฺทศฺจรฺยายา: | อาภรณํ พุทฺธปุตฺราณามฺ | รติรฺโมกฺษกามานามฺ |
คำแปล
เป็นเครื่องหมายแรกของพุทธธรรมทั้งหลายอันมี 18 แขนง ฯ เป็นเครื่องประดับธรรมกาย
a first sign of the eighteen dharmas that are unique to a buddha. It is the ornament of the Body of Dharma,
是佛所特有的十八法的第一相。 是法身庄严,

๒.ผู้ที่ดำรงมั่น อยู่ในธรรมกาย
yo dharmakāye bhavati pratiṣṭhito
abhāva jānāti sa sarvabhāvān /
abhāvasaṃjñāya vibhāvitāya
na rūpakāyena jinendra paśyati // SRS_4.15 //
โย ธรฺมกาเย ภวติ ปฺรติษฺฐิโต               
อภาว ชานาติ ส สรฺวภาวานฺ |
อภาวสํชฺญาย วิภาวิตาย
น รูปกาเยน ชิเนนทฺร ปศฺยติ | (15)
คำแปล
ผู้ที่ดำรงมั่น อยู่ในธรรมกาย รู้ภาวะทั้งหมดว่ามิใช่ภาวะ ทำให้แจ้งความรู้พร้อมอภาวะแล้ว
ย่อมไม่เห็นพระผู้เป็นจอมแห่งผู้ชนะ ด้วยรูปกาย124 ฯ (15)
15. He who is firmly established in the body of the Dharma
knows all being as nonbeing. Becoming free of apperception of nonbeing,
he does not perceive the Lord of the Conquerors in his body of form.
15. 稳固法身者
了知一切有为无。 脱离了无有想,他就不会在色身中感知到征服者主。
“Those who remain in the dharmakāya
Know that all things are nothing.
Those who have ceased conceptualizing things277
Do not see the Lord of Jinas as a rūpakāya. {15}
“那些留在法身的人
知道一切事物都是虚无。
那些已经停止概念化事物的人277
不要将吉那王视为色身。 {15}

๓.จิตซึ่งมีธรรมกายนั้นเป็นนิมิต

ārocayāmi prativedayāmi vo
yathā yathā bahu ca vitarkayennaraḥ /
tathā tathā bhavati tannimittacitta-
stehi vitarkehi tanniśritehi // SRS_4.16 //
อาโรจยามิ ปฺรติเวทยามิ โว 
ยถา ยถา พหุ จ วิตรฺกเยนฺนร: |
ตถา ตถา ภวติ ตนฺนิมิตฺตจิตฺต-
สฺเตหิ วิตรฺเกหิ ตนฺนิศฺริเตหิ | (16)
คำแปล
เราบอกและแจ้งให้รู้ จิตซึ่งมีธรรมกายนั้นเป็นนิมิต
ย่อมเป็นไปตามที่คนได้ตรึกตรองมาก ด้วยความตรึกที่อาศัย(คือนึกไปตาม)ธรรมกายเหล่านั้น ฯ (16)
16. I proclaim and declare that as a man repeatedly reflects [on the qualities of a buddha] his mind tends towards them, moved by these acts of reflecting on them. (Du 51)
“I proclaim to you and make it known to you That to the extent that a person contemplates this, To that extent their mind will be fixed upon it, Through that contemplation that dwells upon it. {16}
16. 我宣告并宣称,当一个人反复思惟[佛陀的品质]时,他的心会受到这些思惟行为的推动而趋向于这些品质。 (杜51)
4.25
“我向你们宣告,并让你们知道,一个人思考这个问题的程度,通过沉思于此,他的心就会固定在这个问题上。 {16}

๔.ตถาคตแม้โดยธรรมกาย
| sa na kaṃciddharmamākāṅkṣaṃstathāgataṃ pūjayati
na rūpaṃ na kāmān na bhogān na svargān na parivārān |
api tu khalu punardharmacittako bhavati | sa ākāṅkṣan
dharmakāyato 'pi tathāgataṃ nopalabhate, kimaṅga punā rūpakāyata
upalapsyate | 6.1
ส น กํจิทฺธรฺมมากางฺกฺษํสฺตถาคตํ ปูชยติ
น รูปํ น กามานฺ น โภคานฺ น สฺวรฺคานฺ น ปริวารานฺ |
อปิ ตุ ขลุ ปุนรฺธรฺมจิตฺตโก ภวติ |ส อากางฺกฺษนฺ
ธรฺมกายโตปิ ตถาคตํ โนปลภเต, กิมงฺค ปุนา รูปกายต อุปลปฺสฺยเต |
คำแปล
พระโพธิสัตว์นั้นหวังธรรมบางข้อจึง บูชาพระตถาคตหามิได้ หวังรูปก็หามิได้ หวังกาม โภคะ สวรรค์ บริวาร ก็หามิได้ ฯ แต่โดยที่แท้แล ย่อมเป็นผู้มีใจมุ่งธรรม ฯ พระโพธิสัตว์นั้นผู้มุ่งหวังย่อมไม่ได้ซึ่งตถาคตแม้โดยธรรมกาย จะกล่าวไปใยถึงว่าจะได้โดยรูปกาย ฯ
They do not make offerings to a tathāgata with the hope for anything at all—not with the hope for anything they desire, nor with the hope for any enjoyment, nor with the hope for a higher existence, nor with the hope for followers—but do so with the Dharma in mind. They do not even, with that wish, perceive the Tathāgata as the dharmakāya, let alone perceiving him as the rūpakāya.
“I pay homage to you, the Lord who has the highest compassion.
I pay homage to you, the hero who has subjugated the four enemies.
I pay homage to you, who know the benefits of sublime diligence.
I pay homage to you, the Lord who has the supreme dharmakāya. {iv}
他们不以任何希望来供养如来——不希望任何他们想要的东西,不希望任何享受,不希望有更高的存在,也不希望希望追随者——而是 谨记佛法而这样做。 他们甚至不怀着这样的愿望,将如来视为法身,遑论将如来视为色身。
10.11
“我向您致敬,具有至高慈悲的主。
我向您这位征服四敌的英雄致敬。
我向您致敬,您知道勤奋的好处。
我顶礼您,拥有无上法身的主。 {四}

๕.โดยธรรมกาย
na hi rūpato daśabalān
paśyati so dharmakāya narasiṃhān /
nāpi lakṣaṇehi tasya
prahīṇa sarve viparyāsāḥ // SRS_12.5 //
น หิ รูปโต ทศพลานฺ
ปศฺยติ โส ธรฺมกาย นรสึหานฺ |
นาปิ ลกฺษเณหิ ตสฺย
ปฺรหีณ สรฺเว วิปรฺยาสา: | (5)
คำแปล
ก็เขาไม่เห็นพระทศพลทั้งหลายโดยรูป (กาย) แต่เห็นพระนรสิงห์205
โดยธรรมกาย การเปลี่ยนใจทั้งหมดเขาละได้ด้วยลักษณะทั้งหลายก็หามิได้ ฯ (5)
“They do not see the one with ten strengths as form,
But see the lion of men as the dharmakāya.
Neither do they conceive of attributes
Because they have eliminated all error. {5}
“他们不以十力为色,
但将人类的狮子视为法身。
他们也没有想到属性
因为他们已经消除了所有错误。 {5}

๖.พระพุทธเจ้าผู้มีพระภาคทั้งหลาย คือ ธรรมกาย
atha khalu bhagavāṃścandraprabhaṃ kumārabhūtamāmantrayate sma –
tasmāt tarhi kumāra bodhisattvena mahāsattvena
kāye 'nadhyavasitena jīvite nirapekṣeṇa bhavitavyam | tat kasya hetoḥ? Kaya-
jīvitādhyavasānahetorhi kumāra akuśaladharmābhisaṃskāro bhavati |
tasmāttarhi kumāra bodhisattvena mahāsattvena na rūpakāya-
tastathāgataḥ prajñātavyaḥ | tat kasya hetoḥ? dharmakāyā hi buddhā
bhagavanto dharmakāyaprabhāvitāśca na rūpakāyaprabhāvitāḥ | 22.1
อถ ขลุ ภควำศฺจนฺทฺรปฺรภํ กุมารภูตมามนฺตฺรยเต สฺม—
ตสฺมาตฺตรฺหิ กุมาร โพธิสตฺตฺเวน มหาสตฺตฺเวน
กาเย’นธฺยวสิเตน ชีวิเต นิรเปเกฺษณ ภวิตวฺยมฺ | ตตฺ กสฺย เหโต: ? กาย-
ชีวิตาธฺยวสาน-เหโตรฺหิ กุมาร อกุศลธรฺมาภิสํสฺกาโร ภวติ |
ตสฺมาตฺตรฺหิ กุมาร โพธิสตฺตฺเวน มหาสตฺตฺเวน น รูปกาย-
ตสฺตถาคต: ปฺรชฺญาตวฺย: | ตตฺ กสฺย เหโต: ? ธรฺมกายา  หิ พุทฺธา
ภควนฺโต ธรฺมกายปฺรภาวิตาศฺจ น รูปกายปฺรภาวิตา: |
คำแปล
ทราบว่าลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกจันทรประภาผู้กุมารว่า ดูก่อนกุมาร เพราะเหตุนั้นในบัดนี้ พระโพธิสัตว์มหาสัตว์พึงไม่ใส่ใจในกาย ไม่มุ่งหวังในชีวิต ฯ ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งอะไร? ดูก่อนกุมาร เพราะว่า เพราะเหตุแห่งความสิ้นสุดลงแห่งกายและชีวิต บุคคลย่อมเป็นผู้ถูกอกุศลธรรมปรุงแต่ง ฯ ดูก่อนกุมาร เพราะเหตุนั้นในบัดนี้ พระโพธิสัตว์มหาสัตว์ ไม่พึงรู้จักพระตถาคตโดยรูปกาย ฯ ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งอะไร? เพราะว่า พระพุทธเจ้าผู้มีพระภาคทั้งหลาย คือ ธรรมกาย ถูกอบรมด้วยธรรมกาย มิใช่ถูกอบรมด้วยรูปกาย ฯ
Then the Bhagavān said to the youth Candraprabha, “Therefore, young man, bodhisattva mahāsattvas who wish for this samādhi, and wish to attain quickly the highest, complete enlightenment of perfect buddhahood, should not know the Tathāgata to be the rūpakāya.784 Why is that? It is because the Buddha Bhagavān manifests because of the dharmakāya and does not manifest because of the rūpakāya. [F.74.a]
尔时,世尊对少年月光菩萨言:“是故,少年人,菩萨摩诃萨,欲得此三昧,欲速得无上正等正觉,当不知道如来是色身。784何故? 那? 因为佛世尊因法身而显现,不因色身而显现。 [F.74.a]

๗.พึงรู้ว่าเป็นธรรมกาย
| tatra kumāra tathāgatasya kāyaḥ śata-
puṇyanirjātayā buddhyānekārthanirdeśo dharmanirjātaḥ ānimittaḥ
sarvanimittāpagato gambhīraḥ apramāṇaḥ apramāṇadharmaḥ ānimitta-
svabhāvaḥ sarvanimittavibhāvitaḥ | acalo 'pratiṣṭhito 'tyantākā-
śasvabhāvo 'dṛśyaścakṣuḥpathasamatikrānto dharmakāyaḥ prajñātavyaḥ |22.2
ตตฺร กุมาร ตถาคตสฺย กาย: ศต-
ปุณฺยนิรฺชาตยา พุทฺธฺยาเนการฺถนิรฺเทโศ ธรฺมนิรฺชาต: อานิมิตฺต:
สรฺวนิมิตฺตาปคโต คมฺภีร: อปฺรมาณ: อปฺรมาณธรฺม: อานิมิตฺต-
สฺวภาว: สรฺวนิมิตฺตวิภาวิต: | อจโล’ปฺรติษฺฐิโต’ตฺยนฺตากาศ-
สฺวภาโว’ทฺฤศฺยศฺจกฺษุ:ปถ-สมติกฺรานฺโต ธรฺมกาย : ปฺรชฺญาตวฺย: |
คำแปล
ดูก่อนกุมาร ในข้อนั้น กายของพระตถาคต แสดงประโยชน์เป็นอเนกด้วยพุทธิอันเกิดจากบุญตั้งร้อย เกิดจากธรรม ไม่มีนิมิต ปราศจากนิมิตทั้งหมด ลึกซึ้ง ไม่มีประมาณ มีธรรมไม่มีประมาณ มีสวภาวะที่ไม่มีนิมิต ถูกอบรมด้วยนิมิตทั้งหมด ฯ ไม่หวั่นไหว ดำรงมั่น มีสวภาวะล่วงเกินอากาศ เกินกว่าจะมองเห็นด้วยตาเนื้อ พึงรู้ว่าเป็นธรรมกาย
“Young man, the body of the tathāgata is taught to be one meaning, with the understanding that it arises from a hundred merits. It arises from the Dharma. It is without attributes. It is devoid of all attributes. It is profound. It is immeasurable. It is an immeasurable phenomenon. It has the nature of the absence of attributes. It is free of all attributes. It is unwavering. It has no location. It completely has the nature of space. It is invisible. It transcends the scope of the eye’s vision. That should be known as the dharmakāya.
“少年,如来身受教为一义,了知百功德生起。 它从佛法中生起。 它是没有属性的。 它缺乏所有属性。 这是深刻的。 这是无法估量的。 这是一个无法估量的现象。 它具有无属性的性质。 它没有任何属性。 它是坚定不移的。 它没有位置。 它完全具有空间的性质。 它是看不见的。 它超越了眼睛的视野范围。 那应该称为法身。

๘.ธรรมกาย ไม่เกิดแล้ว ก้าวล่วงชาติ
| acintyaḥ cittabhūmivigataḥ sukhaduḥkhāviprakampyaḥ sarvaprapañcasama-
tikrānto 'nirdeśyo 'niketo buddhajñānaṃ prārthayitukāmānāṃ ghoṣa-
pathasamatikrāntaḥ sasāro rāgasamatikrāntaḥ abhedyo doṣapathasamatikrānto dṛḍho mohapathasamatikrānto nirdiṣṭaḥ | śūnyatānirdeśena ajāto jātisamatikrāntaḥ anāsravaḥ vipākasamatikrāntaḥ nityo vyāhāreṇa | 22.22
อจินฺตฺย: จิตฺตภูมิวิคต: สุขทุ:ขาวิปฺรกมฺปฺย: สรฺวปฺรปญฺจสม-
ติกฺรานฺโต’นิรฺเทศฺโย’นิเกโต พุทฺธชฺญานํ ปฺรารฺถยิตุกามานำ โฆษ-
ปถสมติกฺรานฺต: สสาโร  ราคสมติกฺรานฺต: อเภทฺโย โทษปถสมติกฺรานฺโต ทฺฤโฒ โมหปถสมติกฺรานฺโต นิรฺทิษฺฏ: | ศูนฺยตานิรฺเทเศน อชาโต ชาติสมติกฺรานฺต: อนาสฺรว: วิปาก-สมติกฺรานฺต: นิตฺโย วฺยาหาเรณ |
คำแปล
เป็นสิ่งไม่พึงคิด ปราศจากภูมิแห่งความคิด อันสุขทุกข์ให้หวั่น ไหวมิได้ ก้าวล่วงกิเลสเป็นเหตุทำให้เนิ่นช้าทั้งหมด ไม่มีสิ่งพึงแสดง ไม่มีข้อกำหนด ก้าวล่วงทางแห่งโฆษะของผู้ต้องการปรารถนาพุทธชญานทั้งหลาย มีสาระ ก้าวล่วงราคะ แบ่งแยกไม่ได้ ก้าวล่วงทางแห่งโทสะ มั่นคง ก้าวล่วงทางแห่งโมหะ ถูกแสดงไว้แล้ว ฯ ด้วยการชี้แสดงศูนยตา ธรรมกาย ไม่เกิดแล้ว ก้าวล่วงชาติ ไม่มีอาสวะ ก้าวล่วงวิบาก เที่ยงด้วยโวหาร ฯ
 “It is inconceivable. It is beyond the level of thought. It is unaffected by bliss or suffering. It transcends all conceptual elaboration. It has no location, because it transcends the scope of the words of those who aspire to the wisdom of buddhahood. It is the quintessence because it transcends desire. It is indivisible because it transcends anger. It is stable because it transcends the scope of ignorance. It is taught through the teaching of emptiness. It is unborn because it transcends birth. It is ‘permanent’ in terms of words, and terminology is empty.
“这是不可思议的。 这已经超出了思想的层面。 它不受快乐或痛苦的影响。 它超越了所有概念性的阐述。 它没有地点,因为它超越了那些渴望佛果智慧的人的言语范围。 它是精髓,因为它超越了欲望。 它是不可分割的,因为它超越了愤怒。 它是稳定的,因为它超越了无知的范围。 它是通过空性的教导来教导的。 它是未出生的,因为它超越了出生。 从文字上来说,它是‘永久’的,术语是空的。
ทราบว่าครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ในเวลานั้นว่า
ผู้ใดปรารถนาจะรู้กายอันเช่นนี้ของพระโลกนาถ เจริญสมาธินี้แล้วจักรู้กายของพระพุทธเจ้า ฯ (1)
Thereupon, the Bhagavān spoke these verses: [F.74.b]
“Someone who wishes to know
This body of the Lord of the World
Should meditate on this samādhi,
And then they will know the Buddha’s body. {1}
于是,薄伽梵说了以下偈颂:[F.74.b]
23.7
“有人想知道
这世界之主的身体
应当修习此三昧,
然后他们就会了知佛身。 {1}
กายของพระพุทธเจ้าเกิดจากบุญ บริสุทธิ์ ส่องสว่าง กายนั้นเสมอกับอากาศที่เห็นได้ในระหว่าง(อย่าง) หาความต่างกันไม่ได้(ระหว่าง)กายนั้น(กับอากาศ) ฯ (2)
“A buddha’s body is born from merit.
It is pure and it is brilliant.
It is the same as space;
There is no difference between them. {2}
“佛身是由功德而生的。
它是纯粹的,它是辉煌的。
它与空间相同;
它们之间没有区别。 {2}
โพธิและลักษณะของพระพุทธเจ้าเป็นเช่นใด กายก็เป็นเช่นนั้น ลักษณะของพระพุทธเจ้านั้นเป็นเช่นใด ก็กายของพระพุทธเจ้านั้นก็เป็นเช่นนั้น ฯ (3)
“The characteristics of a buddha
Are the same as those of enlightenment.
The characteristics of the body
Are the same as those characteristics. {3}
“佛的特征
与开悟者相同。
身体的特征
与那些特征相同。 {3}
กายมีสัมโพธิเป็นลักษณะ ก็พุทธเกษตรก็เป็นเช่นนั้น พละ วิโมกษะ ธยานทั้งหลาย ทั้งหมดแม้นั้น มีลักษณะเดียว ฯ (4)
“The body has enlightenment’s characteristics
And a buddha realm has the same.
The strengths, liberations, and dhyānas
Are all also a single characteristic. {4}
“身体有开悟的特性
佛界也同样如此。
力量、解脱与禅定
也都是单一的特征。 {4}
การเกิดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้โลกนาถ เป็นเช่นนี้ ใครๆ ไม่สามารถเห็นด้วยตาเนื้อ ฯ (5)
“That is the nature of the emergence
Of the buddhas, of the lords of worlds.
There is no being who with physical eyes
Is able to see their bodies. {5}
“这就是出现的本质
诸佛、诸世间主。
没有人有肉眼
能够看到他们的身体。 {5}
คนจำนวนมากจักกล่าวอย่างนี้ว่า พระโลกนายกเราเห็นแล้ว พระพรรณดั่ง ทองส่องสว่างโลกทั้งหมดด้วยพระกาย ฯ (6)
“There are many who declare,
‘I have seen the guide of the world.
He is the color of gold and his body
Illuminates the entire world.’ {6}
“有很多人宣称,
‘我看到了世界的指南。
他的颜色和身体都是金色的
照亮整个世界。”{6}
ด้วยการอธิษฐานที่เปิดเผยจากอานุภาพของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเขาเห็นกายที่วิจิตรด้วยลักษณะทั้งหลาย ฯ (7)
“This body that is seen,
Beautified by characteristics,
Is a manifestation through the power
Of the blessing of the buddhas. {7}
“所看到的这个身体,
以特色美化,
是通过力量的体现
皆得诸佛加持。 {7}
กายของพระพุทธเจ้าบุคคลแสดงด้วยความยาวและความกว้าง แต่ก็ไม่ได้ประมาณของกาย เพราะฉะนั้นกายจึงเป็นอจินไตย์ ฯ (8)
“The Buddha’s body is displayed
As having a height and a width,
But that body cannot be measured,
And therefore it is inconceivable. {8}
“佛身现现
由于具有高度和宽度,
但那个身体无法测量,
因此这是不可想象的。 {8}
ถ้าบุคคลพึงได้ประมาณว่า กายของพระพุทธเจ้ามีประมาณเท่านี้ พระศาสดาก็คงไม่ต่างจากเทวดาและมนุษย์ ฯ (9)
“If the Buddha’s body could be measured
And found to be of a certain size,
Then the Teacher would be the same
As a deva or a human. {9}
“若佛身可量
并发现具有一定的尺寸,
那么老师也会是一样的
作为天人或人类。 {9}

๙.พระมหาวีระผู้เป็นธรรมกาย
dharmakāyo mahāvīro dharmeṇa kāya nirjito /
na jātu rūpakāyeṇa śakyaṃ prajñāpituṃ jino // SRS_22.22 //
ธรฺมกาโย มหาวีโร                 ธรฺเมณ กาย นิรฺชิโต |
น ชาตุ รูปกาเยณ ศกฺยํ ปฺรชฺญาปิตุํ ชิโน | (22)
คำแปล
พระมหาวีระผู้เป็นธรรมกายได้รับกายโดยธรรม
ใครๆ ไม่สามารถแสดงให้รู้พระชินเจ้าด้วยรูปกายเลย ฯ (22)
“The dharmakāya, the great hero, Is a body born from the Dharma.
The Jina cannot be made known By means of the rūpakāya. {22}
“法身大英雄,是法生身。
吉那 (Jina) 无法通过色身 (Rūpakāya) 被知晓。 {22}

๑๐.มีขึ้นจากธรรมกาย

nimittāpagatā buddhā dharmakāyaprabhāvitāḥ /
gambhīrāścāprameyāśca tena buddhā acintiyāḥ // SRS_22.31 //
นิมิตฺตกรฺมณา พุทฺธา ธรฺมกายปฺรภาวิตา: |
คมฺภีราศฺจาปฺรเมยาศฺจ เตน พุทฺธา อจินฺติยา: | (31)
คำแปล
พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ปราศจากนิมิต มีขึ้นจากธรรมกาย ก็เพราะเหตุนั้น
พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จึงเป็นสภาพลึกซึ้ง ไม่มีประมาณ เป็นอจินไตย์ ฯ (31)
“The buddhas are devoid of attributes.
They are the manifestation of the dharmakāya.
They are profound and immeasurable,
And therefore the buddhas are inconceivable. {31}
“诸佛皆无功德。
它们是法身的显现。
它们是深奥而不可估量的,
是故诸佛不可思议。 {31}

๑๑.ธรรมกายเป็นอจินไตย์
acintiyasya buddhasya buddhakāyo 'pyacintiyaḥ /
acintiyā hi te kāyā dharmakāyaprabhāvitāḥ // SRS_22.32 //
อจินฺติยสฺย พุทฺธสฺย พุทฺธกาโยปฺยจินฺติย: |
อจินฺติยา หิ เต กายา ธรฺมกายปฺรภาวิตา: | (32)
คำแปล
พุทธกายของพระพุทธเจ้าผู้เป็นอจินไตย์ เป็นสิ่งควรคิดเพียงน้อย
เพราะว่า กายเหล่านั้นที่ถูกอบรมด้วยธรรมกายเป็นอจินไตย์ ฯ (32)
“The inconceivable buddha body Of a buddha is also inconceivable.
Those bodies are inconceivable.
They are the manifestation of the dharmakāya. {32}
“佛的不可思议的佛身,也是不可思议的。
那些尸体是不可思议的。
它们是法身的显现。 {32}

๑๒.เราจึงตั้งมั่น อยู่ในธรรมกาย
evaṃ pañcāna skandhānāṃ jñānaṃ me dharmalakṣaṇam /
jñātvā svabhāvaṃ dharmāṇāṃ dharmakāye pratiṣṭhitaḥ // SRS_24.9 // (24.10)
เอวํ ปญฺจาน สฺกนฺธานำ ชฺญานํ เม ธรฺมลกฺษณมฺ |
ชฺญาตฺวา สฺวภาวํ ธรฺมาณำ ธรฺมกาเย ปฺรติษฺฐิต: | (9)
คำแปล
ความรู้สกันธ์ 5 เป็นลักษณะแห่งธรรมของเรา เพราะรู้สภาวะแห่งธรรม
ทั้งหลาย เราจึงตั้งมั่น อยู่ในธรรมกาย ด้วยประการฉะนี้ ฯ (9)
“In that way I know the characteristics Of phenomena, of the five skandhas.
Knowing that nature of phenomena, I remain in the dharmakāya. {9}
“这样我就知道现象、五蕴的特征。
了知现象的本质,我安住于法身。 {9}

๑๓.เราผู้แล่นลงไปในธรรมกาย
deśemi dharma sattvānāṃ dharmakāye 'pyaniḥsṛtaḥ /
na ca dharmata buddhānāṃ śakyaṃ vācāya bhāṣitum // SRS_24.10 // (24.11)
เทเศมิ ธรฺม สตฺตฺวานำ ธรฺมกาเยปฺยนิ:สฺฤต: |
น จ ธรฺมต พุทฺธานำ ศกฺยํ วาจาย ภาษิตุมฺ | (10)
คำแปล
เราผู้แล่นลงไปในธรรมกาย แสดงธรรมแก่สัตว์ทั้งหลาย อนึ่ง ใครๆ
ไม่สามารถกล่าวถึงธรรมดาของพระพุทธเจ้าทั้งหลายด้วยวาจา ฯ (10)
“I teach the Dharma to beings Without departing from the dharmakāya.
But the qualities of the buddhas Cannot be expressed in words. {10}
“我为众生说法,不离法身。
但诸佛的功德是无法用语言来表达的。 {10}

คนผู้ทรงจำสมาธินี้ ย่อมเป็นผู้ทรงธรรมเที่ยวไปโดยประการที่เป็นแสงสว่าง
ของโลก มีความประพฤติสงบด้วยดี มีใจหมดจดด้วยดี ฯ (112)
“Those heroes attain the ten powers:
Life, karma, materials, and devotion,
And the strengths of aspiration, miracles, and birth,
Dharma, mind, and likewise great wisdom. {ii}
“那些英雄获得十种力量:
生命、业力、物质、奉献,
以及渴望、奇迹和出生的力量,
法、心,亦复大智慧。 {二}

๑๔.ได้ธรรมกาย

vara dharmakośa vividhaṃ nipuṇaṃ
so dharmakāya vaśi pāragataḥ /
so saṃśayaṃ chinatti sarvajage
imu yaḥ samādhi naru dhārayatī // SRS_29.113 //
วร ธรฺมโกศ วิวิธํ นิปุณํ
โส ธรฺมกาย วศิ ปารคต: |
โส สํศยํ ฉินตฺติ สรฺวชเค
อิมุ ย: สมาธิ นรุ ธารยตี | (113)
คำแปล
คนผู้ทรงจำสมาธินี้ ย่อมมีถุงแห่งธรรม มีอย่างต่างๆ สมบูรณ์ ได้ธรรมกาย
เป็นวศี ถึงฝั่ง ตัดความสงสัยของโลกทั้งหมด ฯ (113)
“They who possess this supreme samādhi
Are skilled in the various aspects of the supreme Dharma treasure,
Have attained the perfect power of the dharmakāya,
And cut through the doubts of all beings.1026 {113}
“拥有此无上三昧的人
精通无上法宝各方面,
已证得圆满法身力,
断一切众生疑虑。1026 {113}

๑๕.ผู้ที่เห็นด้วยธรรมกาย
dharmakāyena paśyanti ye te paśyanti nāyakam /
dharmakāyā hi saṃbuddhā etat saṃbuddhadarśanam // SRS_32.32 //
ธรฺมกาเยน ปศฺยนฺติ เย เต ปศฺยนฺติ นายกมฺ |
ธรฺมกายา หิ สํพุทฺธา เอตตฺ สํพุทฺธทรฺศนมฺ | (32)
คำแปล
ผู้ที่เห็นด้วยธรรมกายย่อมเห็นพระนายก เพราะว่า สัมพุทธเจ้าทั้งหลายคือ
ธรรมกาย นั้นเป็นทรรศนะของพระสัมพุทธเจ้า ฯ (32)
“Those who see the dharmakāya, They are the ones who see the Guide.
The dharmakāyas are the buddhas.That is seeing the buddhas. {32}
“见法身者,即见导师。
法身即是佛,即见佛。 {32}

๑๖.สีผิวไม่มีแก่ธรรมกาย
chidyanti māṃse na mamāsi vedanā āhāri me śoṇitu nāsti iñjanā /
na dharmakāyasya vraṇo na chidraṃ yadi sarvu chidyeyu mama svamāṃsam // SRS_34.23 //
ฉิทฺยนฺติ มำเส น มมาสิ เวทนา อาหาริ เม โศณิตุ นาสฺติ อิญฺชนา |
ธรฺมกายสฺย วฺรโณ น ฉิทฺรํ ยทิ สรฺวุ ฉิทฺเยยุ มม สฺวมำสมฺ | (23)
คำแปล
(ราชธิดาทูลว่า) เวทนาไม่มีแก่หม่อมฉันผู้ตัดเนื้อ ความหวั่น ไหวไม่มี แก่หม่อมฉัน เพื่อที่จะปรุงอาหาร
สีผิวไม่มีแก่ธรรมกาย ไม่มีช่อง ถ้าหม่อมฉันพึงตัดเนื้อของตนทั้งหมดของหม่อมฉัน ฯ (23)
“ ‘I had no pain when I cut my flesh. When the blood flowed I did not become dizzy.
Even if I were to cut off all of my flesh, The body of the Dharma would have no wound or cut. {23}
“‘割肉时我没有感到疼痛。 当血液流动时,我并没有感到头晕。
纵使我身肉尽断,法身亦无伤痕。 {23}

Gilgit Manuscripts Vol.II (Part I)

Gilgit Manuscripts Vol.II (Part II)
สันสกฤษ
คำแปลอังกฤษ
ฉบับภาษาสันสกฤต (Jammu &Kashmir) https://archive.org/details/in.ernet.dli.2015.503972/page/n9?q=Gilgit




SHARE

Author: verified_user

0 ความคิดเห็น: