หลักฐานธรรมกาย
ในคัมภีร์ศรีมาลาเทวีสีหนาทสูตร
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
ศรีมาลาฯ เป็นพระสูตรมหายานที่รจนาขึ้นหลังจากมี
ปรัชญาปารมิตาสูตร ซึ่งเป็นพระสูตรหลังได้ไม่นาน งานสำคัญที่สุดในกลุ่มนี้ ได้แก่
อัษฏสาหัสริกา ซึ่งรจนาขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 100 ก่อน ค.ศ.-ค.ศ.200
พระสูตรมหายานแรกๆนั้น กล่าวถึงทฤษฎีทวิกายของพระพุทธเจ้า ได้แก่
รูปกายหมายถึงกายของพระพุทธเจ้าที่ทรงอุบัติขึ้นในโลก และธรรมกายซึ่งเป็นพุทธภาวะ
ส่วนใหญ่ของพระสูตรนี้
กล่าวถึงทฤษฎีทวิกายที่กล่าวถึงนี้ และพระนางศรีมาลาเทวีได้ตรัสสรรเสริญสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า
"รูปกายของพระองค์ และความรู้อยู่เหมือนจินตนาการ
พุทธภาวะของพระองค์ไม่เสื่อมสูญ จึงสมควรที่จะยึดพระองค์เป็นสรณะพระมุนีเจ้า"
พระสูตรมหายานในสมัยต่อมาเช่น อวตังสกะ(ค.ศ.200-400)
และลังกาวตารสูตร (ค.ศ.400) ได้แบ่งแยกรูปกายออกไปอีกเป็น สัมโภคกายและนิรมานกาย
ศรีมาลาฯ ไม่ได้กล่าวถึงทฤษฎีตรีกาย
แต่อาจเป็นไปได้ว่าอยู่ในสมัยเดียวกับพระสูตรที่เริ่มมีการพัฒนาทฤษฎีตรีกายแล้ว ลังกาวตารสูตร บ่งชี้ชัดถึงกำเนิดของศรีมาลาฯ
เพราะในลังกาวตารสูตรนั้น มีการอ้างถึงศรีมาลาฯ...
๑.พระองค์ผู้ทรงไว้ด้วยธรรมกาย
"พระองค์ผู้ทรงไว้ด้วยธรรมกาย ผู้ทรงหยั่งถึงในญาณ ข้าฯ
ขอสักการะพระธรรมราช ผู้ทรงเข้าถึงในภูมิ โดยปราศจากความเสื่อม
“Having already exorcised the mind’s defilements And the four
kinds [of faults] of body [and speech] You have already
arrived at the undaunted stage. Therefore we
worship you, the Dharma King.
降伏心過惡,及與身四種,已到難伏地,是故禮法王。
您已降伏恶的心念,以及他们身体所做的四祌过恶,已离去身心的一切过患,而到 达佛境,所以我要向您持法至上的如来敬礼
"พระองค์ผู้ทรงไว้ด้วยธรรมกาย ผู้ทรงหยั่งถึงในญาณ ข้าฯ
ขอสักการะพระองค์ผู้ทรงเข้าถึงพุทธภาวะอันประเสริฐสุด
“By knowing all
objects to be known,And by the self-mastery of your body
of wisdom,
You encompass all
things. Therefore,
we now honor you.
知一切爾焰,智慧身自在,攝持一切法,是故今敬禮。您了知一切,生一切智慧,身具有无量智,无烦恼通达无碍,摄取保持一切妙法,所以今天我向您敬礼.
๒.เข้าถึงธรรมกายแห่งพระตถาคตเจ้า
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
กุลบุตรกุลธิดาที่ได้สละร่างกายนั้น ย่อมเข้าถึงกายแห่งพุทธะ เป็นที่สุดแห่งสังสาร
ย่อมเป็นอิสระจากความชรา ความเจ็บไข้ และความตาย ไม่มีใครทำลายได้
จึงเป็นผู้มีความมั่นคงสงบนิ่ง เป็นอมตะ เป็นอิสระจากการตาย และถึงพร้อมด้วยบารมีอันมหาศาล
เข้าถึงธรรมกายแห่งพระตถาคตเจ้า
“When
good sons and daughters abandon the body, they become equal to the last limit of the cycle of birth and
death (samsara). Having parted from old
age, illness, and death, they realize the indestructible, eternal, unchanging, and inconceivable merits of the Tathāgata’s Dharma body (dharmakaya).
《勝鬘師子吼一乘大方便方廣經》卷1:「善男子善女人捨身者,生死後際等,離老病死,得不壞常住、無有變易、不可思議功德如來法身。
「在修佛行善的男子、女人中,为奉行摄受正法而舍弃自己身体的人,能超越生死进入涅盘境界,脱离
衰老、疾病、死亡,获得不会败坏的、没有生灭变迁的、水恒存在的、具有不可思议的功德,不可思議功德如來法身。 (CBETA, T12, no. 353, p. 219, a1-8)
๓.ได้เข้าถึงธรรมกายซึ่งประเสริฐกว่าโลกทั้งมวล
"ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
มีความรู้ 2 ชนิดที่บ่งชี้
เมื่อพูดว่า 'ไม่มีอะไรที่จะต้องเรียนรู้มากไปกว่านี้'
"พระตถาคตเจ้า
ได้ทำลายมารทั้ง 4 ลงด้วยชัยชนะอันประมาณมิได้ของพระพุทธเจ้า
ได้เข้าถึงธรรมกายซึ่งประเสริฐกว่าโลกทั้งมวลอันมิอาจเข้าถึงได้โดยสรรพสัตว์ เมื่อได้เป็นพระธรรมราช
อันปราศจากอุปสรรคในขั้นตอนทุกขั้นของการรู้
พระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นว่าไม่มีอะไรนอกเหนือไปจากนี้ที่จะต้องทำความเข้าใจอีกต่อไป
เสด็จสู่ภาวะสมบูรณ์อันประมาณมิได้ ทรงปราศจากความกลัว ทรงถึงพร้อมในทศพล
และทรงเข้าถึงความรู้ทั้งปวงโดยปราศจากอุปสรรค
พระองค์จึงทรงเปล่งพระสุรสีหนาทด้วยความรู้ที่ว่า 'ไม่มีอะไรจะต้องรู้อีกแล้วนอกจากนี้'
“O Lord, there are two kinds of knowledge
that do not accept rebirth.
First, there is the knowledge of the Tathāgatas
who, by means of their unsurpassed powers,
subdue the four Evil Ones, appear in all worlds, and are worshiped by all living beings. They attain the inconceivable Dharma
body, all spheres
of knowledge, and unobstructed autonomy in all things.
In this stage
there is no action nor attainment that is
higher. Having the ten
magnificent
powers [of knowledge] they ascend to the
supreme, unexcelled, fearless stage. With their omniscient, unobstructed
knowledge, they understand without relying on
another. This wisdom that does not accept rebirth is the lion’s roar.
「世尊!不受後有智有二種。「世尊!不要受未来果报身的智慧有二种:謂:如來以無上調御降伏四魔,出一切世間,為一切眾生之所瞻仰,「第一种是,如来运用无上的佛法调化、降伏烦恼魔、五阴魔、死魔、..自在天魔等四魔,超出一切世间,被一切众生恭敬仰望,得不思議法身。於一切爾焰地得無礙法自在,於上更無所作。無所得地十力勇猛,昇於第一無上無畏之 地,获得不可思虑契合真如的法身,在生发一切智慧的境地里,获得最高自在无碍。再往上更是达到脫绝一切因缘造作、断尽对一切妄相情欲的执迷的真如真理境界,强大的十种智力无不具备,从而升入最高的
无上的、无畏的成佛境界,一切爾炎無礙智覲不由於他,不受後有智師子吼。于一切所知境地,以无碍智慧去观察、理解、领悟、契合佛法真如,不须依赖他力:获得不受.... 身的智慧,能像师子吼那样无畏地宣说佛法。
๔.อาณาจักรพระนิพพานหมายถึงธรรมกายของพระตถาคตเจ้า
คือการเข้าถึงการตรัสรู้สัมมาสัมพุทธญาณโดยสมบูรณ์
การตรัสรู้พระสัมมาสัมพุทธญาณโดยสมบูรณ์คือความหมายของอาณาจักรพระนิพพาน อาณาจักรพระนิพพานหมายถึงธรรมกายของพระตถาคตเจ้า การบรรลุในพระธรรมกายโดยสมบูรณ์
คือการหยั่งรู้ในเอกยาน พระผู้มีพระภาคเจ้า พระตถาคตมิได้ต่างจากพระธรรมกาย พระตถาคตนั่นเองคือพระธรรมกาย การหยั่งรู้พระธรรมกายโดยสมบูรณ์คือการบรรลุในเอกยานโดยสมบูรณ์นั่นเอง
โดยปรมัตถ์ของเอกยานคือความหมายของเอกยานสัมบูรณ์นั่นเอง
“Those who attain the One Vehicle attain
supreme, complete enlightenment. Supreme,
complete enlightenment is the realm of nirvana. The realm of
nirvana is the Dharma body of the Tathāgata.
Attaining the absolute Dharma body is
[attaining] the absolute One Vehicle. The Tathāgata
is not different from the Dharma body. The Tathāgata
is identical to the Dharma body.
If
one attains the absolute Dharma body then
one attains the absolute One Vehicle.
The absolute [One
Vehicle] is unlimited and unceasing.
得一乘者得阿耨多羅三藐三菩提*阿栉多羅三藐三菩提者即是涅槃界,涅槃界者即是如來法身,得究竟 法身者則究竟一乘,「获得一乘教法成就的*也就茯得无上的真正觉知一切真嫂的智慧。此智慧,也就是涅盘境界。涅盘境 界,就是如来的法身。获得究竟的法身,就是成就了究竟证悟怫境的一乘教法,無異如來、無異法身,如來即法身;得究竟法身者,則究竟一乘,究竟者即是無邊不斷. 与如来本体没有什么不同,与法身本体没有什么不同,如来本体也就是法身本体。「获得究竟极身,就是成就了究竟证悟佛堍的一乘教法。所谓究竟极至,就是竖穷三际、橫遍十方常住无尽
๕.ความรู้แจ้งแห่งธรรมกาย
"พระผู้มีพระภาคเจ้า 'ธรรม' หมายถึงคำสอนในมรรคแห่งเอกยาน 'พระสงฆ์' หมายถึงที่รวมแห่งยานทั้งสาม
สรณะประการที่สองเป็นสรณะที่ขึ้นอยู่กับสรณะประการแรก มิใช่สรณะสูงสุด ด้วยเหตุใดหรือ
เพราะพระธรรมซึ่งสอนในมรรคแห่งเอกยานนั้น เป็นความรู้แจ้งแห่งธรรมกาย และนอกเหนือไปจากนั้น
ไม่มีอะไรอีกแล้วที่จะเกี่ยวข้องกับพระธรรม(กาย)ที่สอนมรรคแห่งเอกยาน
เจ้าภาพแห่งยานทั้งสามจึงพากันยึดในสรณะ ยึดในพระตถาคตเพราะความกลัว
แล้วแสวงหาวิธีการในการเข้าสู่ชีวิตทางศาสนา ศึกษาและปฏิบัติ
และมุ่งเข้าสู่วิถีทางแห่งการตรัสรู้โดยสมบูรณ์ ดังนั้น
สรณะประการที่สองจึงมิใช่สรณะที่สูงสุด เป็นสรณะที่ยังมีขอบเขตจำกัด
“The Dharma is the path of the One Vehicle.
The sangha is the assembly of
the three vehicles. These two refuges are not the ultimate refuge. They are called ‘the partial refuge.’ Why? The
Dharma of the path of the One Vehicle attains the absolute Dharma body.
Furthermore, there can be no Dharma body other than that of the One Vehicle.
“The assembly of the three vehicles (the
sangha), being afraid, seeks refuge
in the Tathāgata.
Those students who go out to practice turn toward supreme, complete enlightenment. Therefore,
these two refuges are not the ultimate
refuge but are limited refuges.
「法者即是說一乘道,僧者是三乘眾。此二歸依非究竟歸依,名少分歸依。 「讲到法,就是在讲一乘教法;讲到僧,就是在讲声闻、缘觉、菩萨三乘的修行人众。仅仅 归依一乘教法和三乘僧众的二归依,还不是无限的永恒的彻底的归依,只能称为有限的非彻
底圆满的归依。何以故?說一乘道法,得究竟法身,於上更無說一乘法身。什么缘故呢?要为修行人讲述一乘教法目的在于获得究竟极至的法身,当他们证悟究.... 法身后,就不须再对他们讲述一乘教法了。
๖.ธรรมกายของพระตถาคตนั้นเป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวง
"ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ใครก็ตามที่ไม่สงสัยว่าตถาคตครรภ์หุ้มห่ออยู่ในกิเลส ย่อมไม่สงสัยว่า ธรรมกายของพระตถาคตนั้นเป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวง
เมื่อจิตผู้ใดก็ตามที่เข้าถึงปรมัตถ์แห่งตถาคตครรภ์ ธรรมกายแห่งพระตถาคต และอาณาจักรอันประมาณมิได้ของพระพุทธเจ้า
เขาย่อมมีความเชื่อมั่นในการอธิบาย 2 แบบ ของอริยสัจ การอธิบาย 2 แบบนี้
ยากที่จะรู้และยากที่จะเข้าใจ
If
there are no doubts with reference to the tathāgatagarbha
that is concealed by the innumerable stores of defilement, then
there also will be no doubts with reference to the Dharma body that
transcends the innumerable stores of defilement. In explaining the tathāgatagarbha, one explains the Dharma body of the Tathāgata, the inconceivable buddha realms,
and skillful means.
“The mind that
attains this determination then believes and understands the twofold noble truths. Likewise, what is
difficult to know and to understand is
the meaning of the twofold noble truths.
「若於無量煩惱藏所纏如來藏不疑惑者,於出無量煩惱藏法身亦無疑惑。「若有人于此无量的根本烦恼袠藏着如来真如,对这义理不疑惑,那么对破灭无量根本烦恼 显出真如法身这一义理也不疑惑;於說如來藏、如來法身、不思議佛境界及方便說,如来含藏如来法身唯有佛所知的不可思议的佛境界,及由佛善巧而行的、大方便说,
心得決定者,此則信解說二聖諦。如是難知難解者,謂說二聖諦義。何等為說二聖諦義?
我们如果能于佛所证的、所说的,心得决定不疑的信解,这样就会相信和理解如来含藏的二 种真理。像这样的难以知晓、难以理解的义理,就是佛所说如来含藏理论的二种圣谛义。
๗. พระธรรมกายของพระตถาคตนั้นได้ชื่อว่า 'เป็นที่สุดแห่งทุกข์'
"ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
การพ้นทุกข์มิใช่การสิ้นสุดแห่งธรรมะ ด้วยเหตุใดหรือ เพราะพระธรรมกายของพระตถาคตนั้นได้ชื่อว่า 'เป็นที่สุดแห่งทุกข์' ไม่มีจุดกำเนิด
มิได้ถูกสร้างขึ้น ไม่มีการเกิด ไม่มีการตาย เป็นอิสระจากความตาย เป็นนิรันดร์
มั่นคง สงบ อมตะ มีความบริสุทธ์จากภายใน เป็นอิสระจากอาสวะทั้งปวง
ถึงพร้อมอยุ่ในธรรมชาติแห่งพุทธะอันมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในแม่น้ำคงคา
มีความเปิดเผย เป็นอิสระและหยั่งมิได้ ธรรมกายแห่งพระตถาคตนี้ เมื่อยังไม่เป็นอิสระจากอาสวะเรียกว่า
ตถาคตครรภ์
“O Lord, the extinction of suffering is not
the destruction of the Dharma.
The ‘extinction of suffering’ signifies the
Dharma body of
the Tathāgata, which is from beginningless time uncreated,
nonarising, indestructible, free from
destruction, eternal, inherently pure, and separate from all the stores of defilement. O Lord, the Dharma body is not
separate from, free from, or different
from the inconceivable Buddha-Dharmas that are more numerous than the sands of the Ganges River.
“O
Lord, the Dharma body of the Tathāgata
is called the tathā
gatagarbha when
it is inseparable from the stores of defilement.”
世尊!如是如來法身不離煩惱藏,名如來藏。世尊!如此真如显现的如来法身,在凡夫位时,为烦恼所缠,不离烦恼藏,所以就称....
๘. ธรรมกายของพระตถาคตมีความสมบูรณ์ในความเป็นนิจจัง
"ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ขอบเขตของความรู้อันเป็นธรรมกายของพระตถาคตนั้น ไม่มีใครเห็นมาก่อน
แม้โดยความบริสุทธิ์ของพระสาวกและพระปัจเจกพุทธะ เมื่อสรรพสัตว์มีศรัทธาในพระตถาคต
และสรรพสัตว์เหล่านั้นเข้าถึงพระองค์ด้วยความมั่นคง ความสุข อัตตา ความบริสุทธิ์
และไม่หลงผิดไป สรรพสัตว์เหล่านั้นมีทัศนะที่ถูกต้อง ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
เพราะธรรมกายของพระตถาคตมีความสมบูรณ์ในความเป็นนิจจัง
มีความสมบูรณ์อยู่ในความสุข มีความสมบูรณ์ในอัตตา และสมบูรณ์ในความบริสุทธิ์ เมื่อใดก็ตามที่สรรพสัตว์เห็นธรรมกายของพระตถาคตในลักษณะนี้
เรียกได้ว่าเขาเห็นถูกต้อง ผู้ใดเห็นถูกต้องนับว่าเป็นพุทธบุตร เกิดจากพระหฤทัย
เกิดจากพระโอษฐ์ เกิดจากธรรมะ
ผู้ปฏิบัตินี้เป็นเยี่ยงปรากฏของพระธรรมและประดุจเป็นทายาทแห่งพระธรรม
“O
Lord, living beings have contrary ideas when they have acquired the five psychophysical elements of the
individual. The impermanent is considered permanent,
suffering is considered happiness. The nonsubstantiality of the self is considered a substantial self, the
impure is considered pure. The knowledge of all arhats and pratyekabuddhas
has not originally apprehended the Dharma body of
the Tathāgata
nor the realm of his omniscience. If there are living beings who believe in the Buddha’s
words, they will have thoughts of
permanence, of happiness, of self, and of purity. These are not contrary views but are correct views.
Why? The Dharma
body of the Tathāgata
is the perfection
of permanence, the perfection of happiness, the perfection of the substantial self, and the
perfection of purity. Those who see the Dharma body of the Buddha in this way are
said to see correctly. Those who see correctly are the true sons and daughters of the
Buddha. They arise from the Buddha’s words,
from the True Dharma, and from conversion
to the Dharma, attaining the
remaining benefits of the Dharma.
顛例眾生•於五受陰•無常常想、苦有樂想、無我我想、不淨淨想。持觖倒現念的众生,对于五受阴认识是躲倒的,本来是无常的却想成常的,本来是苦的却想成... 本来无永恒主宰的我却想成有永恒主宰的我,本来是不淨的却想成是清净的*一切阿羅漢、辟支佛淨智者,於一切智境界及如來法身,本所不見。一切阿罗汉、辟支佛所具有的领悟清净的智慧,于生死法的无常等,虽有所了知,但于如来 一切智所知的如来藏境界,及如来法身,还是本所不见的。「或有眾生,信佛語故,起常想、樂想、我想、淨想,非顚倒見,是名正見。「有的众生由于相信佛所讲的关于如来法身的理义,想到如来法身体性是无生灭迁流... 变的、功德无量其乐无穷的、融通周遍随意自在的、超脱尘世清净无染的,即具有常 我、净四德,这并非是颠倒的观念,这就你为断妄悟真的佛法正见。何以故?如來法身是常波罹蜜、樂波羅蜜、我波羅蜜、淨波羅蜜。
什么缘故?因为如来法身就是通过契合常、乐、我、淨度达涅盘彼岸,於佛法身* 作是見者,是名正見正見者*是怫真子*從佛口生、從正法生、從法化生* 得法餘財。对如来佛法身作这样认识的就称为正見。得此断妄悟真的怫法正见*才是佛的真子,有的是从听受佛 的演说后生起的,有的是从真正的佛法生的,有的是从法身的感化+产生的,有的不得佛的法 其它法如布拖、持成而得福报。
๙.ตถาคตครรภ์พีชะแห่งธรรมกาย
เป็นพีชะแห่งโลกุตรธรรม
พระผู้มีพระภาคเจ้า ตถาคตครรภ์นี้ เป็นพีชะแห่งธรรมธาตุอันประเสริฐ
เป็นพีชะแห่งธรรมกาย เป็นพีชะแห่งโลกุตรธรรม
เป็นพีชะแห่งธรรมะอันบริสุทธิ์ภายใน "ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ความบริสุทธิ์ภายในแห่งตถาคตครรภ์แปดเปื้อนด้วยกิเลสจรอยู่ในขอบข่ายของพระตถาคต
ผู้ทรงเป็นนายอันมิอาจหยั่งได้ ด้วยเหตุใดหรือ
“O
Lord, the tathāgatagarbha
is the womb of the dharmas,
the womb of
the Dharma body, the transcendental womb,
and the inherently pure womb. This
tathāgatagarbha
that is inherently pure is the inconceivable realm of the Tathāgata that has
been contaminated by extrinsic defilements and other virulent defile ments.
「世尊!如來藏者,是法界藏、法身藏、出世間上上藏、自性清淨藏。「世尊!如来藏,是对真如不变的含藏、是如来法身的含藏,是超出世间的至高无上.... 藏、是本性清净无染心的含藏。此性清淨如來藏,而客塵煩惱、上煩惱所染,不思議如來境界。这本性清净无染真如心的含藏,又被各祌烦恼,随起烦恼这些非心性固有的秽垢所污染,所 以说这如来藏是不可思虑议论的如来境界。
๑๐.รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนเรื่องธรรมกาย
สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงมีพุทธดำรัสว่า
"ขอให้รักษาพระสูตรนี้ไว้โดยถือว่าเป็นคำสรรเสริญบารมีอันเที่ยงแท้ และกว้างใหญ่ไพศาลของพระตถาคตเจ้า
จงรักษาไว้ในฐานะที่เป็น 'มหาปณิธาน'
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นความปรารถนาอันยิ่งใหญ่อันเป็นที่รวมแห่งความปรารถนาทั้งปวง
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนของหลักธรรมอันประเสริฐมิอาจหยั่งได้
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนเพื่อเอกยานมรรค
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นอริยสัจอันหาขอบเขตมิได้
รักษาไว้ในฐานะเป็นคำสอนเรื่องตถาคตครรภ์
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนเรื่องธรรมกาย
The Buddha said, “This sutra praises the supreme merits of the True
จงรักษาไว้ในฐานะที่เป็น 'มหาปณิธาน'
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นความปรารถนาอันยิ่งใหญ่อันเป็นที่รวมแห่งความปรารถนาทั้งปวง
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนของหลักธรรมอันประเสริฐมิอาจหยั่งได้
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนเพื่อเอกยานมรรค
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นอริยสัจอันหาขอบเขตมิได้
รักษาไว้ในฐานะเป็นคำสอนเรื่องตถาคตครรภ์
รักษาไว้ในฐานะที่เป็นคำสอนเรื่องธรรมกาย
The Buddha said, “This sutra praises the supreme merits of the True
Dharma of the
Tathāgata
[in Chapter I].
In this manner
accept it. It explains [in
Chapter II]
the ten
inconceivable ordination vows. In this manner accept it. It explains [in Chapter III]
the great
aspiration that embraces all aspirations. In
this manner accept it. It explains [in Chapter IV]
the inconceivable
acceptance of the
True Dharma. In this manner accept it. It explains [in Chapter V]
the entrance into
the One Vehicle. In this manner accept it. It explains [in Chapter VI]
the unlimited
noble truths. In this manner accept it. It explains [in Chapter VII]
the tathāgatagarbha.
In this manner accept it. It explains [in Chapter VIII]
the Dharma
body. In this manner accept it. It explains [in
Chapter IX]
佛言:「此經『歎如來真實第一義功德』,如是受持。『不思議大受』,如是受持。佛说:「这部经证叹如来绝对真实的理体和至高无上的功德,这一条要领受牢记;胜鬉夫人
从佛领受的不可思虑议论的宏大佛法,这一条要领受牢记;『一切願攝大願』,如是受持。『說不思議攝受正法』,如是受持。一切誓愿都包含在胜鬉夫人所立的三大誓愿里,这一条要领受牢记;说了不可思议摄...这-条要领受牢记;『說入一乘』,如是受持。『說無邊聖缔』,如是受持。说了三乘归入一乘,这一条要领受牢记;说了圣人掌握的具有无限意义的真理,这一条要领 受牢记;『說如來藏』,如是受持。『說法身』,如是受持。说了如来的含藏,这一条要领受牢记;说了真如实相显现的法身,这一条要领受牢记。
ที่มา
ศรีมาลาเทวีสีหนาทสูตร แปลโดย ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์. กรุงเทพมหานคร :
โอ.เอส.พริ้นติ้ง. เฮ้าส์. 2523
0 ความคิดเห็น: