วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์ มหายานสูตราลังการ

SHARE

หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์ มหายานสูตราลังการ
                   ธรรมทรรศน์ รวบรวม
พระสูตรมหายานสูตราลังการนี้ เป็นสูตรที่แต่งขึ้นหลังจากที่มีปรัชญาปารมิตาสูตรได้ไม่นานและเป็นสูตรสำคัญที่มีอิทธิพลต่ออวตังสกสูตรและลังกาวตารสูตร พระสูตรนี้มีชื่อเรียกต่างๆ กันหลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์ลังกาวตารสูตรเรียกว่า ศรีมาลัง เทวี อธิกฤตยะ ในคัมภีร์มหายานสูตราลังการเรียกว่า ศรีมาลาสูตร ในคัมภีร์ศึกษาสมุจจัย เรียกว่า ศรีมาลาสิงหนาทสูตร ส่วนในฉบับที่ท่านคุณภัทร แปลจากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีนใช้ชื่อว่า ศรีมาลาสีหนาทเอกยาน เอกสัจวิธีบรรลือไกลสูตร และฉบับของท่านพระโพธิรุจิ ใช้ชื่อว่า สภาศรีมาลาเทวี เป็นต้น ส่วนเจ้าชายโชโตกุ ไทชิของญี่ปุ่น ทรงพอพระทัยพระสูตรนี้ทรงเขียนอรรถาธิบายพระสูตรนี้ไว้ด้วยและใช้ชื่อสองชื่อจาก 16 ชื่อ สุดท้ายจึงรักษานามไว้ว่า “ศรีมาลาเทวีสีหนาท”
This magnificent Mahayana Sutta It is a sutta composed shortly after the Prajnaparamita Sutta and is an important sutta that influenced the Avatamsaka Sutta and the Lankavatara Sutta. This sutra has many different names, for example in the Lankavatāra Sutta it is called Srimalang Devi Adhikritya, in the Mahayana Suttalangkara it is called Srimala Sutta, in the Samuccai Sutta it is called Srimala Singhanatha Sutta. As for Khun Phat's version Translated from Sanskrit into Chinese, it is called Sri Malasi Naath Ekayan Ekasajwathi Banlueklai Sutta and the version of Venerable Bodhiruchi is called Sabha Sri Maladevi, etc. As for Prince Shotoku Japanese Tai Chi Satisfied with this sutra, he also wrote an explanation of this sutra and used two names out of 16. In the end, he kept the name "Sutra". “Srimala Devi Sihanath”

๑.ความเจริญแห่งธรรมกายอันต่อเนื่อง
นววิธาตุมปริปากมาหาตฺมฺยมารภฺย โศฺลกะ I

อิติ นววิธวสฺตุปาจิตาตุมา ปรปริปาจนโยคฺยตามุเปตะ I
ศุภ[ธรฺม]มยสตตปฺรวรฺธิตาตฺมา ภวติ สทา ชคโต’คฺรพนฺธุภูตะ II 11 II
ทฺวิวิธํ ตนฺมาหาตฺมฺยมฺ I ปรปริปาเก ปฺรติศรณตฺวมฺ I สตตํ ธรฺมกายวฺฤทุธิศฺจ I ตต เอว ชคโต, คฺรพนฺธุภูตะ I
navavidhātmaparipākamāhātmyam ārabhya ślokaḥ |

iti navavidhavas tu pācitātmā paraparipācanayogyatām upetaḥ |
śubhadharmamayasatatapravardhitātmā bhavati sadā jagato 'grabandhubhūtaḥ || AMsa_8.11 ||
dvividhaṃ tanmāhātmyaṃ | paraparipāke pratiśaraṇatvaṃ | satataṃ dharmakāyavṛddhiś ca | tata eva jagato 'grabandhubhūtaḥ |

โศลกว่าด้วยการปรารภความยิ่งใหญ่แห่งความแก่รอบแห่งอัตตาอันมี 9 ประการ 11. ด้วยประการดังนี้ความเป็นผู้มีอัตตาแก่รอบอันมี 9 ประการเข้าถึงความมีโยคะในความแก่รอบของบุคคลอื่น ความเป็นผู้มีอัตตาเจริญขึ้นอย่างต่อเนื่องอันสำเร็จแล้วแต่ธรรม บุคคล ย่อมเป็นผู้เผ่าพันธุ์อันเลิศแห่งโลก I
อรรถาธิบาย : ความยิ่งใหญ่แห่งความแก่รอบมี 2 ประการ I ความเป็นที่พึ่งเพื่อความแก่ รอบแห่งบุคคลอื่น I และความเจริญแห่งธรรมกายอันต่อเนื่อง I ดังนั้น บุคคลจึงเป็นเป็นเผ่าพันธุ์ อันเลิศ I
A verse on the greatness of (the bodhisattva's) ninefold maturity:
11. (The bodhisattva), himself mature in these nine areas, (naturally) gains the ability to bring others to maturity. Himself an embodiment of Dharma constantly on the increase, he always becomes the dearest relative of all the world.
Its greatness is twofold: it is the recourse for the evolutionary development of others, and it constantly increases the body of Dharma. For that reason (the bodhisattva) becomes the best relative of all the world.
论九深庄严偈:
11.(菩萨)自己在这九个方面成熟了,(自然)获得了使他人成熟的能力。 他自己就是佛法不断增长的化身,他总是成为全世界最亲爱的亲人。
它的伟大是双重的:它是他人进化发展的资源,它不断地增加法身。 因此(菩萨)成为一切世间最好的亲戚。

๒.ธรรมกายอันเป็นลักษณะแห่งการหมุนไปของพื้นฐาน
พุทธกายวิภาเค สปฺตโศฺลกาะ I

สฺวาภาวิโก’ถ สำโภคยะ กาโย ไนรฺมาณิโก’ประ I
กายเภทา หิ พุทฺธานำ ปฺรถมสฺตุ ทฺวยาศฺรยะ II 60 II

ตฺริวิธะ กาโย พทฺธานามฺ I สฺวาภาวิโก ธรฺมกาย อาศฺรยปราวฺฤตฺติลกฺษณะ I สำโภคิโก เยน ปรฺษนฺมณฺฑเลษุ ธรฺมสํโภคํ กโรติ I ไนรฺมาณิโก เยน นิรฺมาเณน สตฺตฺวารฺถํ กโรติ I

สรฺวธาตุษุ สำโภคฺโย ภินฺโน คณปริคฺรไหะ I
เกฺษไตฺรศฺจ นามภิะ กาไยรฺธรฺมสํโภคเจษฺฎิไตะ II 61II

ตตฺร สำโภคิกะ สรฺวโลกธาตุษุ ปรฺษนฺมณฺฑลพุทฺธเกฺษตฺรนามศรีรธรฺมสํโภคกฺริยาภิรภินฺนะ
buddhakāyavibhāge sapta ślokāḥ |

svābhāviko 'tha sāṃbhogyaḥ kāyo nairmāṇiko 'paraḥ |
kāyabhedā hi buddhānāṃ prathamas tu dvayāśrayaḥ || AMsa_9.60 ||

trividhiḥ kāyo buddhānāṃ | svābhāviko
dharmakāya āśrayaparāvṛttilakṣaṇaḥ | sāṃbhogiko yena parṣanbhaṇḍaleṣu dharmasaṃbhogaṃ karoti | nairmāṇiko yena nirmāṇena satvārthaṃ karoti |

sarvadhātuṣu sāṃbhogyo bhitro gaṇaparigrahaiḥ |
kṣetraiś ca nāmabhiḥ kāyair dharmasaṃbhogaceṣṭitaiḥ || AMsa_9.61 ||
tatra sāṃbhogikaḥ sarvalokadhātuṣu parṣanmaṇḍalabuddhakṣetranām aśarīradharmasaṃbhogakriyābhir bhinnaḥ |

โศลกว่าด้วยการจำแนกกายแห่งพุทธะ 7 โศลก

60.สวภาวกาย สัมโภคกาย นิรมาณกาย เป็นการจำแนกกายแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายแล แต่ว่ากายที่ 1 เป็นฐานแห่งกายทั้ง 2

อรรถาธิบาย : กายของพระพุทธเจ้า มี 3 ประการ สวภาวกาย คือธรรมกายอันเป็นลักษณะแห่งการหมุนไปของพื้นฐาน I สัมโภคกาย คือกายที่กระทำการเสวยธรรมในหมู่บริษัท นิรมาณกาย คือ กายที่กระทำประโยชน์แก่สัตว์โดยการเนรมิต
There are seven verses on the analysis of the body of a buddha:
60. The varieties of the body of buddhas are the intrinsic reality body, the beatific body, and the emanation body; and the first is the ground of the other two.
The body of the buddhas is threefold: The "intrinsic reality body" is the body of truth, whose nature is the foundational transmutation. The beatific body is that through which (a buddha) causes the circle of assemblies to enjoy the Dharma. And the emanation body is that through which they emanate (into the worlds) to fulfill the purposes of beings.
分析佛身有七偈:
60. 诸佛身种种,有本性身、福身、化身。 第一个是另外两个的地面。
诸佛身有三重:“实相身”是法身,其性是根本的变化。 福身是使大众享受法的身。 化身是他们化身(进入世界)以实现众生目的的实体。

61.ในธาตุทั้งหลายทั้งปวง สัมโภคกาย แตกต่างโดยการยึดถือของคณะ โดยพุทธ เกษตร โดยชื่อ โดยกาย และโดยความปรารถนาในอันที่จะเสวยธรรม I

อรรถาธิบาย ในที่นี้สัมโภคกาย แตกต่างกันโดยหมู่บริษัท พุทธเกษตร ชื่อ สรีระ และ กริยาการเสวย ในโลกธาตุทั้งปวง I

61. In all universes, the beatific body is distinguished by its gathering of hosts, its buddha-lands, its names, its bodies, its spiritual beatitudes, and its activities.
The beatific body differs in all universes due to its gathering of hosts, (sometimes consisting of (the bodhisattvas) Aksayamati and so on, sometimes of Avaloki tesvara, Samantabhadra, and so on), in its buddha lands, (such as Akanistha and so on, made of jewels and gold and so on), in its names (such as Vairocana, Amitäbha, and so on), in its bodies (endowed with auspicious marks and with different sizes and capacities), its enjoyment of the teachings (of the universal vehicle and so forth), and its activities (such as accomplishing the aims of beings).
61. 在一切宇宙中,福身的特征在于其诸众集、其佛土、其名号、其身、其神福及其事业。
各世界的福身,因其诸佛国土(如阿耨多罗三藐三菩萨等,有时是观世音菩萨、普贤菩萨等)的聚集而有所不同。 其名号(如毗卢遮那、阿弥陀佛等)、其身(有吉祥相、大小容量不同)、其法受(如 宇宙车辆等)及其活动(例如实现存在的目标)。

62.สวภาวะกาย เป็นกายเสมอกัน ละเอียด เป็นกายที่ฝังอยู่ในสภาวะกายนั้น เหตุแห่งความเป็นใหญ่แห่งการเสวย ย่อมมีในการแสดงการเสวยธรรมตามความปรารถนา
อรรถาธิบาย : สวภาวะกาย ของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งเสมอกันโดยไม่มีความพิเศษ ละเอียด เพราะรู้ได้ยาก เหตุอันสัมพันธ์กับสัมโภคกายนั้น เพราะความเป็นใหญ่ในการเสวยธรรม และเพราะการแสดงการเสวยธรรม ตามความปรารถนา I
62. The reality body is considered equal, subtle, and integrated with that (beatific body); it is also considered the cause of the mastery of beatitude, (when buddhas) manifest beatitudes at (their) pleasure.
The intrinsic reality (body) of all the buddhas is equal because it lacks differentiations.84 It is subtle because it is difficult (for the disciples and hermit buddhas) to understand. It is inter-related with the beatific body and is the cause of (the buddhas') mastery of beatitude in displaying at will the enjoyments (of such as buddhalands and universal vehicle teachings and so forth).8^
62. 实相体被认为是平等的、微妙的,并且与实相体(福体)融为一体; 它也被认为是掌握八福的原因,(当佛陀)随心所欲地显现八福时。
所有佛陀的内在实相(身体)都是平等的,因为它没有分别。84它很微妙,因为它(对于弟子和隐士佛来说)很难理解。 它与福身相互关联,是(诸佛)掌握福报、随意展现(如佛国、普乘教法等)享受的原因。

63.การเปลี่ยนแปลงแห่งพระพุทธเจ้าอันไม่มีประมาณเป็นที่ทราบกันว่าคือนิรมาณกาย ความถึงพร้อมแห่งอรรถทั้ง 2 ประการ จากสิ่งเหล่านั้นทั้ง 2 ประการ อาการทั้งปวงนั้นตั้งมั่นแล้ว I
63. The emanation body is considered to consist of the innumerable emanations of a buddha; the fulfillment of the two aims (of self and other) is grounded in all forms on these two (beatific and emanation bodies).
The emanation body of the buddhas consists of the buddha emanations which are of immeasurable variety. The beatific body has the nature of the fulfillment of one's individual aims. The emanation body has the nature of the fulfillment of others' aims. Thus the (emanation body as the) fulfillment of the two aims rests, respectively, on the two, the truth body and the beatific body.
63. 化身被认为是由佛的无数化身所组成。 这两个目标(自我和他人)的实现以所有形式都基于这两个目标(至福体和化身)。
诸佛的化身是由无量诸佛的化身所组成。 幸福的身体具有实现个人目标的本质。 化身具有成就他人目标的本质。 因此,两个目标(化身)的实现分别依赖于真理身和幸福身这两个目标。

๓.ไม่มีความแตกต่างแห่งธรรมกาย
พุทฺธาเนกตฺวาปฺฤถกฺตฺเวโศฺลกะ I

โคตฺรเภทาทไวยถฺรฺยาตฺสากลฺยาทปฺยนาทิตะ I
อเภทานฺไนกพุทฺธตุวํ พหุตฺวํ จามลาศฺรเย II 77 II

เอก เอว พุทฺธ อิตฺเยตนฺเนษฺยเต I กึ การณมฺ I โคตฺรเภทาตฺ I อนนฺตา หิ พุท,ธโคตฺราะ สตฺตฺวาะ I ตตฺไรก เอวาภิสํพุทฺโธ นานฺเย,ภิสํโภตฺสฺยนฺต อิติ กุต เอตตฺ I ปุณฺยชฺณานสํภารไวยถฺรฺยํ จ สฺยาทนฺเยษำ โพธิสตฺตฺวานามนภิสํโพธานฺน จ ยุกฺตํ ไวยถฺรฺยมฺ I ตสฺมาทไวยถฺรฺยาทปิ ไนก เอว พุทฺธะ สตฺตฺวารถกฺริยาสากลฺยํ จ น สฺยาตฺ I พุทฺธสฺย พุทฺธตฺเว กสฺยจิทปฺรติษฺฐาปนาเทตฺจฺจ น ยุกฺตมฺ I น จ กศฺจิทาทิพุทฺโธ’สฺติ วินา สํภาเรณ พุทฺธตฺวาโยคาทฺวินา จานฺเยน พุทฺเธน สํสถานา (สํภารา] โยคาทิตฺยนาทิตฺวาทปฺเยโก พุทฺโธ น ยุกฺตะ I พหุตฺวมปิ เนษฺยเต พุทฺธานำ ธรฺมกายสฺยาเภทาทนาสฺรเว ธาเตา I
| buddhānekatvāpṛthaktve ślokaḥ |

gotrabhedād avaiyarthyāt sākalyād apy anāditaḥ |
abhedān naikabuddhatvaṃ bahutvaṃ cāmalāśraye || AMsa_9.77 ||

eka eva buddha ity etann eṣyate | kiṃ kāraṇaṃ | gotrabhedāt | anantā hi buddhagotrāḥ satvāḥ | tatraika evābhisaṃbuddho nānye 'bhisaṃbhotsyanta iti | kuta etat | puṇyajñānasaṃbhāravaiyarthyaṃ ca syād anyeṣāṃ bodhisatvānām anabhisaṃbodhān na ca yuktaṃ vaiyarthyaṃ | tasmād avaiyarthyād api naika eva buddhaḥ satvārthakriyāsākalyaṃ ca na syāt | buddhasya buddhatve kasyacit apratiṣṭhāpanād etac ca na yuktaṃ | na ca kaścid ādibuddho 'sti vinā saṃbhāreṇa buddhatvāyogād vinā cānyena buddhena saṃsthānāyogād ity anāditvād apy eko buddho na yuktaḥ | bahutvam api neṣyate buddhānāṃ
dharmakāyasyābhedād anāsrave dhātau |

โศลกว่าด้วย ความไม่เป็นหนึ่งและความไม่เป็นแผนกของพระพุทธเจ้า
77. ความที่แห่งพระพุทธเจ้าเป็นหนึ่งเดียว เป็นจำนวนมากย่อมไม่มี เพราะไม่มีความ แตกต่างแห่งโคตร ไม่มีจุดมุ่งหมาย ไม่มีแม้ความรวมกัน ในพื้นฐานอันไม่มีมลทิน เพราะไม่มีความแตกต่าง

อรรถาธิบาย : คำว่า พระพุทธเจ้าเพียงหนึ่ง ดังนี้นั้น ไม่ถูกต้อง I เพราะเหตุไร I เพราะ ความแตกต่างแห่งโคตร I เพราะว่า สัตว์ทั้งหลาย มีโคตรแห่งพุทธะไม่มีสิ้นสุด I ในที่้นี้บุคคลผู้เดียวเท่านั้นเป็นอภิสัมพุทธะ บุคคลอื่นไม่บรรลุได้ ดังนี้ I นี้เพราะเหตุไร จุดหมายในการสะสมบุญ และความรู้พึงมี และจุดมุ่งหมายที่พระโพธิสัตว์เหล่าอื่นไม่ประกอบเพราะอภิสัมโพธิ I เพราะเหตุ นั้น เพียงหนึ่งเดียว ไม่มี เพราะการไม่มีจุดมุ่งหมายและการรวมกันเพื่อการกระทำอรรถเพื่อบุคคล อื่นที่ไม่พึงมี I การไม่แต่งตั้งบุคคลไรๆ โดยพระพุทธเจ้าไว้ในความเป็นพุทธะนี้ย่อมไม่สมควร อาทิพุทธะไรๆ ย่อมไม่มี เว้นจากการประกอบความเป็นพุทธะโดยการสั่งสมและการสั่งสมโดย พุทธะอื่นเพราะการประกอบเพราะความไม่มีอาทิพุทธความเป็นหนึ่งในพุทธะไม่สมควร I ความ มีจำนวนมากแห่งพุทธไม่ถูกต้อง เพราะไม่มีความแตกต่างแห่งธรรมกาย ในธาตุอันไม่มีอาสวะ I

There is a verse on there being neither a unity nor a plurality of buddhas:
      77. There is no oneness of buddhas, because of different spiritual genes, because of not being useless, because of completeness, because of lack of a primordial; nor is there a plurality (of buddhas), because there is no differentiation in the immaculate ground.
It is unacceptable to say there is but one buddha. Why? "Because of different spiritual genes" (refers to the fact that) there is no end of beings who have the Buddha genealogy: So how can it be said that from among them only one has become perfectly enlightened and that others will not become perfectly enlightened? For then the other bodhisattvas' stores of merit and intuition would be useless, as they would not become perfectly enlightened, and it is unreasonable they become useless. Therefore, "because of usefulness" it is not the case that there is but a single
buddha. Further, the carrying out of the aims of others would be incomplete if there was anyone that the buddha did not establish in buddhahood; and this is unreasonable. Again, there is no such thing as a primordial buddha, for without the stores, buddhahood is impossible, and the stores are impossible without another buddha. Therefore, because there is no primordial buddha, it is unreasonable that there be only one buddha. (On the other hand,) a plurality (of buddhas) also is not accepted, for the buddhas' body of truth is undifferentiated in the uncontaminated
realm.
有偈偈论诸佛既非一亦非众:
       77、诸佛无一,因灵性基因不同,因不无用,因圆满,因无本初。 亦无复数,因为清净土无分别。
说只有一尊佛是不可接受的。 为什么? 「因神基因不同」(指)有佛谱系的众生,无边无际,怎能说只有一个人成佛,其他人就不会成佛呢? ? 因为那时其他菩萨的资粮和直觉就毫无用处,因为他们不会成正觉,他们变得无用是不合理的。 所以,“因为有用”,并不是只有一个。
佛。 复次,若有佛未立佛者,则他人之志不圆满。 这是不合理的。 再者,根本不存在本初佛,因为没有藏,就不可能成佛,而没有其他佛,也不可能有藏。 所以,本初佛本来就没有,所以只有一佛是不合理的。 (另一方面)复数也是不被接受的,因为诸佛的法身在无染界中是无分别的。

๔.ด้วยความวิเศษแห่งกาย เพราะธรรมกาย

สมตาคมนํ ตสฺมินฺนารฺยโคตฺรํ หิ นิรฺนลมฺ I
สมํ วิศิษฺฎมนฺยูนานธิกํ ลกฺษณา มตา II 43 II

สมตาลมนมนาสฺรวธาเตา อารฺยโคตฺเร ตทนฺไยรารฺไยะ I ตจฺจ นิรฺมลมารฺยโลตฺรํ  พุทฺธานามฺ I สมํ วิมุกฺติสมตยา ศฺราวกปฺรตฺเยกพทฺไธะ I วิศิษฎํ ปญฺจภิรฺวิเศไษะ I วิศุทฺธิวิเศเษณ สวาสนเกฺลศวิศุทฺธิตะ I ปริศุทฺธิวิเศเษณ เกฺษตฺรปริสุทฺธิตะ I กายวิเศเษณ ธรฺมกายตยา I สํโภควิเศเษณ ปรฺษนฺมณฺฑเลษฺววิจฺฉนฺนธรฺมสํโภคปฺรวรฺตนตะ I กรฺมวิเศเษณ จ ตุษิตภวนวาสานินิรฺมาไณะ สตฺตฺวารฺถกฺริยานุษฺญานตะ I น จ ตสฺโยนตฺวํ สํเกฺลศปกฺษนิโรเธ นาธิกตฺวํ วฺยวทานปกฺโษตฺปาท อิตฺเยษา ปญฺจวิธา โยคภูมิรฺลกฺษณา เ ตยา นิ ตลฺลกฺษฺยํ ลกฺษณํ จ ลกฺษฺยเต I
samatāgamanaṃ tasminn āryagotraṃ hi nirmalam |
samaṃ viśiṣṭam anyūnānadhikaṃ lakṣaṇā matā || AMsa_11.43 ||

samatāgamanamanāsravadhātau āryagotre tadanyair āryaiḥ | tac ca nirmalam āryagotraṃ buddhānāṃ | samaṃ vimuktisamatayā śrāvakapratyekabuddhaiḥ | viśiṣṭaṃ pañcabhir viśeṣaiḥ | viśuddhiviśeṣeṇa savāsanakleśaviśuddhitaḥ | pariśuddhiviśeṣeṇa kṣetrapariśuddhitaḥ | kāyaviśeṣeṇa
dharmakāyatayā | saṃbhogaviśeṣeṇa parṣanmaṇḍaleṣv avicchinnadharmasaṃbhogapravartanataḥ | karmaviśeṣeṇa ca tuṣitabhavanavāsādinirmāṇaiḥ satvārthakriyānuṣṭhānataḥ | na ca tasyonatvaṃ saṃkleśapakṣanirodhe nādhikatvaṃ vyavadānapakṣotpāda ity eṣā (Msa 66) pañcavidhā yogabhūmir lakṣaṇā | tathā hi tallakṣyaṃ ca lakṣyate |
43.การบรรลุความเสมออันเป็นโคตรแห่งอารยะ อันไม่มีมลทิน อันเสมอ อันวิเศษ อันไม่มีความพร่องและเกิน เป็นลักษณะที่ทราบกันแล้ว

อรรถาธิบาย : การบรรลุความเป็นผู้เสมอในโคตรแห่งผู้ประเสริฐในธาตุอันไม่มีอาสวะ ด้วยผู้ประเสริฐเหล่าอื่น I อันไม่มีมลทิน เป็นโคตรแห่งผู้ประเสริฐแห่งพระพุทธเจ้า I เสมอด้วย ความเสมออันวิมุตติด้วยพระสาวก พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระพุทธเจ้า I วิเศษด้วยความวิเศษ 5 ประการ I ด้วยความวิเศษอันบริสุทธิ์ เพราะบริสุทธิ์ด้วยวาสนาและกิเลส I ด้วยความวิเศษอันบริสุทธิ์ เพราะบริสุทธิ์รอบ เพราะความบริสุทธิ'แห่งเกษตร      I ด้วยความวิเศษแห่งกาย เพราะธรรมกาย I ด้วยความวิเศษแห่งการเสวย เพราะความเป็นไปแห่งการเสวยธรรมอันไม,ตัดขาดใน มณฑลแห่งบริษัท I ด้วยความวิเศษแห่งกรรม คือ เพราะการอธิษฐานการกระทำเพื่อประโยชน์แก่สัตว์ ด้วยการนิรมิตการอยู่ในดุสิตภพ I ไม่มีความพร่อง ไม่มีความมากเกินในการดับส่วนกิเลส นี้ เป็นลักษณะแห่งโยคภูมิ 5 อย่าง I เพราะว่านี้เป็นความมีลักษณะ ลักษณะ และแสดงลักษณะ I

43. One arrives here at equality, since the spiritual gene of noble beings is immaculate, equal, distinguished, without excess or deficiency; this is accepted as the process of identification.
This is the arrival at equality with the other noble ones in the uncontaminated realm, which is the spiritual gene of the noble ones and the immaculate, noble gene of the buddhas. It is equal due to its equality in liberation with the disciples and hermit sages. It is distinguished by five distinctions: distinction of thorough purification, since the addictions along with the instincts are thoroughly purified; distinction of universal purification, since the field is universally purified; distinction of body, since it is the body of truth; distinction of beatitude, because uninterrupted spiritual beatitude fills the society; and distinction of evolutionary activity, since the aims of living beings are persistently accomplished by means of emanational (buddha-) deeds such as the (bodhisattva's) life in the Tusita heaven. It has no deficiency upon the cessation of the tendency to addiction. It has no excess in the production of the tendency to purification. Such is the process of identification, also called the five stages of yoga. So thereby the identity (of reality), the identified (reality bearing that identity), and identification (the process of coming to realize that identity) occurs.
43、至此平等,因为圣者的精神基因是清净、平等、尊贵、无余、无缺的。 这被认为是识别过程。
这就是与无染界中的其他圣者平等的境界,这是圣者的精神基因,也是诸佛的清净圣基因。 平等是因为它与弟子、隐士的解脱平等。 其有五分别::彻底清净分别,因为贪欲与本能都彻底清净; 普遍净化的区别,因为场是普遍净化的; 身体的区别,因为它是真理的身体; 福祉的区别,因为不间断的精神福祉充满了社会; 以及进化活动的区别,因为众生的目标是通过化身(佛)的行为,例如在兜率天天(菩萨)的生活来持续实现的。 一旦成瘾倾向停止,它就没有缺陷。 它在生产中没有过剩的净化倾向。 这就是识别的过程,也称为瑜伽的五个阶段。 因此,(现实的)身份、被识别的(承载该身份的现实)和身份(意识到该身份的过程)就发生了。

๕.ความวิเศษแห่งธรรมกายของพระพุทธเจ้า

อาเทา ตตฺตฺเว,นฺยตฺเว สฺวลกฺษเณ สุวยมถานฺยถาภาเว
สํกฺลเศ,ถ วิเศเษ กฺษานฺติรฺนุตฺปตฺติธรฺโมกฺตา II 52 II

อษฺฎาสฺวนุตฺปตฺติธรฺเมษุ กฺษานฺติรฺนุตฺปตฺติกธรฺมกฺษานฺติะ อาเทา สํสารสฺย, น หิ
ตสฺยาทฺยุตฺปตฺติรสฺติ I  ตตฺเว’ นฺยตฺเว จ ปูรฺวปศฺจิมานำ, น หิ สํสาเร เตษาเมว ธรฺมาณามุตฺปตฺติะ
เย ปูรฺวมุตฺปนฺนาสฺตทฺภาเวนานุตฺปตฺเตะ I น จานฺเยษามฺ, อปูรวปฺการานุตฺปตฺเตะ I สฺวลกฺษเณ
ปริกลฺปิตสฺย สฺวภาวสฺย, น หิ ตสฺย กทาจิทุตฺปตฺติะ I สุวยมนุตฺปตฺเตา ปรตนฺตฺรสฺย I อนฺยถาภาเว
ปรินิษฺปนฺนสฺย น หิ ตทนฺยถาภาวสฺโยตฺปตฺติรสฺติ I สํเกฺลเศ ปฺรหีเณ, น หิ กฺษยชฺญานลาภินะ
สํเกฺลศสฺโยตฺปตฺตึ ปุนะ ปศฺยนฺติ I วิเศเษ พุทฺธธรฺมกายานามฺ, น หิ เตษำ วิเศโษตฺปตฺติรสฺติ I
อิตฺเยเตษฺวนุตฺปตฺติธรฺเมษุ กฺษานฺติรนุตฺปตฺติธรฺโมกฺตา I
ādau tatve 'nyatve svalakṣaṇe svayam athānyathābhāve |
saṃkleśe 'tha viśeṣe kṣāntir anutpattidharmoktā || AMsa_11.52 ||

aṣṭāsv anutpattidharmeṣu kṣāntir anutpattikadharmakṣāntiḥ | ādau saṃsārasya na hi tasyādyutpattir asti | tatve 'nyatve ca pūrvapaścimānāṃ na hi saṃsāre teṣām eva dharmāṇām utpattirye pūrvam utpannās tadbhāvenānutpatteḥ | na cānyeṣām apūrvaprakārānutpatteḥ | svalakṣaṇe parikalpitasya svabhāvasya na hi tasya kadācid utpattiḥ | svayamanutpattau paratantrasya | anyathābhāve pariniṣpannasya na hi tadanyathā bhāvasyotpattir asti | saṃkleśe prahīṇe na hi kṣayajñānalābhinaḥ sakleśasyotpattiṃ punaḥ paśyanti | viśeṣe buddha
dharmakāyānāṃ na hi teṣāṃ viśeṣotpattir asti | ity eteṣv anutpattidharmeṣu kṣāntir anutpattidharmoktā |

52. ในเบื้องต้น ในตัตวะ ในความเป็นอื่น ในลักษณะของตน ในความเป็นของตน และ ในความเป็นอื่น ในอภาวะ ในความเศร้าหมอง ในความวิเศษ ความสงบถูกเรียกว่า ธรรมอันไม่บังเกิดขึ้นอีก I

อรรถาธิบาย : ในธรรมอันไม่บังเกิดขึ้นอีก 8 ประการ ความสงบได้ชื่อว่า เป็นความสงบ แห่งธรรมอันไม่เกิดขึ้นอีก I ในเบื้องต้นแห่งสังสาร I เพราะว่าการเกิดขึ้นแห่งธรรมนั้นย่อมไม่มี I ในความเป็นเช่นนั้นและในความเป็นอื่นแห่งธรรมอันมีในกาลก่อน เพราะว่าในสังสารการเกิดขึ้น แห่งธรรมเหล่านั้นย่อมไม่มีธรรมเหล่าใดเกิดขึ้นก่อน เพราะการเกิดขึ้นด้วยภาวะแห่งธรรมเหล่านั้นI และไม่มีแห่งธรรมเหล่าอื่น เพราะการไม่เกิดขึ้นด้วยประการแห่งธรรมอันไม่มีในกาลก่อน I ใน ลักษณะแห่งตนของปริกัลปีตะอันเป็นสวภาวะ เพราะการเกิดขึ้นในกาลไหน ๆ ย่อมไม่มี I ความ เป็นของตนในการไม่เกิดขึ้นแห่งปรตันตระ I ในความเป็นโดยประการอื่นแห่งปรินิษปันนะ เพราะว่าย่อมไม่มีการเกิดขึ้นแห่งความเป็นโดยประการอื่น I ในความเศร้าหมองอันถูกประหารแล้ว บุคคลย่อมไม่ประสบการเกิดขึ้นแห่งความเศร้าหมองด้วยความสิ้นไป ด้วยญาณ และด้วยการได้รับ อีกต่อไป I ในความวิเศษแห่งธรรมกายของพระพุทธเจ้า เพราะการเกิดขึ้น เพราะความวิเศษแห่งธรรมกายเหล่านั้นย่อมไม่มี I ด้วยเหตุฉะนี้ในธรรมอันไม่เกิดขึ้นอีกนี้ความสงบจึงถูกเรียกว่าธรรม อันไม่บังเกิดขึ้นอีก I
A verse in the ärya meter on the investigation of the tolerance of the nonproduction of things:74
52. The tolerance of the nonproduction of things is recommended, in the light of their beginning, sameness, otherness, intrinsic identity, self, transmutation, addiction, and distinction.
Tolerance of the nonproduction of things is a tolerance in terms of the eight nonproductions. In terms of the origin of cyclic life, it is without original production. In terms of sameness or otherness in prior and later things, in cyclic life things previously produced are not produced (again) as the same, since once produced they do not reproduce themselves from their intrinsic realities; nor is there production of (intrinsically) other things, as things are not produced in unprecedented forms. In terms of intrinsic identity, the imaginatively constructed reality is never
produced. In terms of self-production, the relative reality (is unproduced). In terms of transmutation, there is never any production of the perfect reality. In terms of abandonment of addictive processes, (there is no production) because those who have attained the knowledge of termination of contamination do not see any production
of addictions. In terms of distinction (there is no production), since any distinctions between the truth bodies of the buddhas are not produced. This explains the tolerance of the nonproduction of things in terms of these (eight) things.
ärya 韵律中关于研究事物非生产的容忍度的诗句:74
52. 根据事物的起源、相同性、差异性、内在同一性、自我、嬗变、成瘾和区别,建议对事物非生产的容忍。
忍物无生,是对八无生的忍。 从循环生命的起源来看,它是没有原始产生的。 就先前和后来事物的相同性或不同性而言,在循环生命中,先前产生的事物不会(再次)以相同的方式产生,因为一旦产生,它们就不会从其内在现实中复制自己; 也不存在(本质上)其他事物的生产,因为事物并不是以前所未有的形式生产的。 就内在同一性而言,想象构建的现实从来都不是
产生的。 就自我生产而言,相对现实(未生产)。 就嬗变而言,永远不会产生完美的现实。 就放弃成瘾过程而言,(没有产生),因为那些获得了终止污染知识的人看不到任何产生
的成瘾。 就分别而言(无生),因为诸佛的法身之间没有任何分别。 这是用这(八)件事解释了对不生产事物的容忍。

๖.เพราะเว้นจากธรรมกาย

ปุษฺเฎรธฺยาศยโต มหตี ปรฺเยษฺฎิริษฺยเต ธีเร I
สวิวาสา หฺยวิวาสา ตไถว ไวภุตฺวิถี เตษามฺ II 74 II
อสกายา ลฆุ[ลพุธ]กายา ปฺรปูรฺณกายา จ โพธิสตฺตฺวานาฺ I
พหุมานสูกฺษฺมมานา นิรฺมาณา ไจษณาภิมตา II 75 II

ตฺรโยทศวิธไ ปรฺเยษฺฎิะ I ปุษฺฎิตะ ศฺรุตาธิมุกฺติปุษฺฎยา I อธฺยาศยโต ธรฺมมุขสฺโรตสา I มหตี จิตฺต[วิภุ]ตฺวลาภินาฺ I สวิปฺรวาสา ปฺรถมา I อวิปฺรวาสา ทวิตียา I ไวภุตฺวิกี ตฺฤตียา I อกายา ศฺรุต-จินฺตามยี ธรฺมกายรหิตตฺวาตฺ I สกายา ภาวนามยี อธิมุกฺติจรุยาภูโม I ลฆุ[ลพฺธ]กายา สปฺตสุ ภูมิษุ I ปริปูรณกายา เศษาสุ I พหุมานาธิมุกติจรฺยาภูเมา I สูกฺษฺมมานา สปฺตสุ I นิรมาณ เศษาสุ I
puṣṭer adhyāśayato mahatī paryeṣṭir iṣyate dhīre |
savivāsā hy avivāsā tathaiva vaibhutvikī teṣām || AMsa_11.74 ||
asakāyā laghulabdhakāyā prapūrṇakāyā ca bodhisatvānām |
bahumānasūkṣmamānā nirmāṇā caiṣaṇābhimatā || AMsa_11.75 ||

trayodaśavidhā paryeṣṭiḥ | puṣṭitaḥ śrutādhimuktipuṣṭyā | adhyāśayato dharmamukhasrotasā | mahatī cittatvalābhināṃ | savipravāsā prathamā | avipravāsā dvitīyā vaibhutvikī tṛtīyā | akāyā śrutacintāmayī dharmakāyarahitatvāt | sakāyā bhāvanāmayī adhimukticaryābhūmau | laghukāyā saptasu bhūmiṣu | paripūrṇakāyā śeṣāsu | bahumānādhimukticaryābhūmau | sūkṣmamānā saptasu | nirmāṇā śeṣāsu |

74.การแสวงหาอันยิ่งใหญ่ เป็นที่ปรารถนาจากการอาศัยความสนับสนุนในนักปราชญ์ การห้ามและการไม่ห้าม เป็นการเสวยแห่งสิ่งเหล่านั้น I
75.ความไม่มีร่างกาย กายเบา กายอันบริบูรณ์ การเนรมิตอันมากและน้อย เป็นความ ปรารถนาแห่งพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย I

อรรถาธิบาย : การแสวงหามี 13 ประการ I ด้วยการสนับสนุนอธิมุกติอันฟังแล้วได้ชื่อ ว่าการสนับสนุน I ด้วยกระแสแห่งปากแห่งธรรมชื่อว่า การอาศัย I ความยิ่งใหญ่แห่งบุคคลผู้ได้จิต I เป็นไปกับด้วยการห้าม เป็นที่ 1 I เป็นไปกับด้วยการไม่ห้าม เป็นที่ 2 I เป็นการเสวย เป็นที่ 3 I ไม่มี กายอันสำเร็จด้วยการฟังและการคิด เพราะเว้นจากธรรมกาย I มีร่างกายอันสำเร็จด้วยการเจริญ ภาวนา เป็นภูมิแห่งการประพฤติในอธิมุกติ I มีกายเบาในภูมิ 7 I มีกายบริบูรณ์ในภูมิที่เหลือ I ในภูมิ แห่งการประพฤติอธิมุกติอันมาก I อันน้อยในภูมิ 7 I การเนรมิตในภูมิที่เหลือ I
7A-75. For the brave (bodhisattva), investigation is considered in terms of growth, universal responsibility, and greatness; through their abandonment, non-abandonment, and mastery. The bodhisattvas' investigations96 are proclaimed to (take place at the levels of) being unincorporated, incorporated, lightly incorporated, and fully incorporated (in the truth body); with much pride, with slight pride, and without pride.
There are thirteen types of investigation of the teaching: in terms of growth, increasing faith in (the teaching) which has been heard; in terms of universal responsibility, through the stream of the door of truth; in terms of greatness, when one has obtained the masteries. (Here,) "abandonment" (refers again to) the first, "non-abandonment" to the second, and "mastery" to the third. The "unincorporated" (level) is created from hearing and reflection, and still lacks the body of truth. The "incorporated" level is created from meditation, in the stage of action out of faith. The "lightly incorporated" refers to (the first) seven stages. The "fully incorporated" refers to the other (three) stages. "With much pride" refers to the stage of action out of faith. "With slight pride" refers to the first seven stages. "With no pride" refers to the last three stages.
7A-75。 对于勇敢者(菩萨)来说,探究被认为是成长、普遍责任和伟大; 通过他们的放弃、不放弃和掌握。 菩萨的遍知,宣说为无入、入入、轻入、全入(法身); 非常骄傲、轻微骄傲和不骄傲。
闻法有十三种:增长方面,对所听闻的信心增加; 在普遍责任方面,通过真理之门的流; 就伟大而言,当一个人获得了掌握时。 (这里)第一是“放弃”,第二是“不放弃”,第三是“掌握”。 “未合并”(层面)是由聆听和反思而产生的,仍然缺乏真理的本体。 “合并”水平是在出于信仰的行动阶段通过冥想而创建的。 “轻并”是指(第一)七个阶段。 “全面并入”是指其他(三个)阶段。 “非常骄傲”是指出于信心而采取行动的阶段。 “略傲”是指前七阶段。 “无骄”是指后三个阶段。

๗.ธรรมกาย ความไพศาลในความบริสทธิ์
ธรฺโม ไนว จ เทศิโต ภควตา ปฺรตฺยาตฺมเวทฺโย ยต อากฺฤษฺฏา ชนตา จ ยุกฺต[ยุกฺติ]วิหิไตรฺธรฺไมะ สฺวกี ธรฺมตำ
สฺวศานตฺยาสฺยปุเฏ วิศุทฺธิวิปุเล สาธารเณ ถากฺษเย ลาเเลเนว กฺฤปาตฺมภิสฺตฺวชครปฺรขไยะ สมาปาทิตา II 2 II

ตตฺร พุทฺธา อชคโรปมาสฺเตษำ สฺวศานฺติ [ศานฺเต?] ราสฺยปุฎํ ธรฺมกายะ I วิศุทฺธิวิปุลํ สวาสนเกฺลศชฺเญยาวรณวิศุทฺธิตะ I สาธารณํ สรฺวพุทฺไธะ อกฺษยมาตฺยนฺติกตฺวาตฺ I
dharmo naiva ca deśito bhagavatā pratyātmavedyo yata ākṛṣṭā janatā ca yuktayuktivihitair dharmaiḥ svakīṃ dharmatāṃ |
svaśāntyāsyapuṭe viśuddhivipule sādhāraṇe 'thākṣaye lāleneva kṛpātmabhis tvajagaraprakhyaiḥ samāpāditā || AMsa_12.2 ||

tatra buddhā ajagaropamās teṣāṃ svaśāntir āsyapuṭaṃ
dharmakāyaḥ | viśuddhivipulaṃ savāsanakleśajñeyāvaraṇaviśuddhitaḥ | sādhāraṇaṃ sarvabuddhaiḥ akṣayam ātyantikatvāt |

2.ธรรมเนื่องจากไม่ได้มีการกล่าวภาษิตที่แท้จริงไว้ซึ่งแสดงไว้โดยพระผู้มีพระภาคเจ้า คนเราควรรู้ไว้สำหรับตนเอง กระนั้นก็ดีความมากมาย ที่ได้รับความดึงดูดในกับธรรมนี้เพราะเหตุแห่งหลักการสำคัญซึ่งบอกไว้ทางตรรกะ คนเราย่อมถูกลงโทษโดยความเมตตากรุณา เนื่องเพราะ ความร้ายกาจในความว่างเปล่าของช่องในปากของงูใหญ่ซึ่งเป็นเช่นกับ สภาพของความสันติความ กว้างใหญ่ไพศาลในความบริสุทธิ์และเป็นของทั่วไปต่อคนทั้งหมดและไม่หมดสิ้นไป

อรรถาธิบาย : ปวงพระพุทธเจ้าเปรียบได้กับพญางูคือ โพรงของปากต่อสภาพของความสงบของพวกท่าน มันคือธรรมกาย ความไพศาลในความบริสุทธิ์โดยการชำระอุปสรรคของความทุกข์และความรู้กับการให้ซึมซาบ เป็นของทั่วไปต่อคนทั้งหมดและต่อปวงพระพุทธเจ้ามันย่อมไม่ รู้จักหมดสิ้นไปเพราะมันไม่เคยสูญสิ้นไป
Two verses on the uselessness and usefulness of the Dharma:
2. The Lord Buddha did not, in fact, teach the (ultimate) Dharma, since it is individually realized within. Still, the compassionate ones, like huge boa-constrictors, (first) attract people toward their own reality with their reasonable teachings, (which work) like the boa's paralyzing saliva, and (then) make them fall into the gaping mouth of their own peace, which is perfectly pure, universal, and inexhaustible.
The buddhas are compared to boa-constrictors. "The gaping mouth of their own peace" is the body of truth. (It is) "perfectly pure" because it is purified of the objective and addictive obscurations and their instincts. It is "universal" to all buddhas, and "inexhaustible" because of its eternality.
两偈论佛法的无用与有用:
2. 事实上,佛陀并没有教导(究竟)佛法,因为佛法是个人在内心证悟的。 尽管如此,那些富有同情心的人,就像巨大的蟒蛇一样,(首先)用他们合理的教义吸引人们走向他们自己的现实,(这有效)就像蟒蛇麻痹的唾液一样,然后让他们掉进自己张开的嘴里。 和平,是完全纯粹的、普遍的、取之不尽用之不竭的。
诸佛被比喻为大蟒蛇。 “张开自己的和平之口”是真理的主体。 (它)“完全纯粹”,因为它净化了客观的、令人上瘾的障碍及其本能。 它对于诸佛来说是“普遍的”,并且因其永恒性而“无穷尽”。

๘.เนื้อแท้ของธรรมกายไม่มีความแตกต่าง

สมตา" รฺถานตฺเร เชฺญยสฺตถา กาลานฺตเร ปุนะ
ปุทฺคลสฺยาศเย ไจว อภิปฺรายศฺจตุรฺวิธะ II18 II
จตุรฺวิโธ' ภิปฺรายะ I สต[ม]ตาภิปฺราโย ยทาห I อหเมว ส ตสฺมินฺสมเย วิปศฺยี สมฺยกฺสํพุทฺโธ' ภูวมิตฺยวิศิษฺฎธรฺมกายตฺวาตฺ I อรฺถานฺตราภิปฺราโย ยทาห I นิะ สฺวภาวาะ สรฺวธรฺมา อนุตฺปนฺนาอิตฺเยวมาทิ อยถารูตารฺถตฺวาตฺ I กาลานฺตราภิปฺราโย ยทาห I เย สุขาวตฺยำ ปฺรณิธานํ กริษฺยนฺติ เต ตตโฺรปปตฺสฺยนฺต อิติ กาลานฺตเรเณตฺยภิปฺรายะ I ปุทฺคลาศยาภิปฺราโย ยตฺตเทว กุศลมูลํ
กสฺยจิตฺปฺรศํสเต กสฺยจิทฺวิครฺหเต' ลฺปมาตฺรสํตุษฺฏสฺย ไวปุลฺยสํคฺรหาตฺ มหายาสูตฺรานฺตาตฺสานุศํสํ คาถาทฺวยมุปาทายาห
samatā 'rthāntare jñeyas tathā kālāntare punaḥ |
pudgalasyāśaye caiva abhiprāyaś caturvidhaḥ || AMsa_12.18 ||

(Msa 83)
caturvidho 'bhiprāyaḥ | satatābhiprāyo yad āha | aham eva sa tasmin samaye vipaśvī samyaksaṃbuddho 'bhūvam ity aviśiṣṭa
dharmakāyatvāt | arthāntarābhiprāyo yad āha | niḥsvabhāvāḥ sarvadharmā anutpannā ity evam ādi ayathārutārthatvāt kālāntarābhiprāyo yadāha | ye sukhāvatyāṃ prāṇidhānaṃ kariṣyanti te tatropapatsyanta iti kālāntareṇety abhiprāyaḥ | pudgalāśayābhiprāyo yat tad eva kuśalamūlaṃ kasyacit praśaṃsate kasyacid vigarhate 'lpamātrasaṃtuṣṭasya vaipulyasaṃgrahāt mahāyānasūtrāntasānuśaṃsaṃ gāthādvayam upādāyāha |

โศลกว่าด้วยส่วนแห่งความตั้งใจ
18. ความตั้งใจมี 4 ชนิดด้วยกัน ความเสมอภาคของอรรถอื่นๆ หนึ่ง เรื่องที่รับรู้ได้หนึ่งยุคสมัยอื่นๆหนึ่งแรงโน้มของเรื่องราวหนึ่ง
อรรถาธิบาย : ความตั้งใจมีอยู่ 4 ชนิด ได้แก่ความเสมอภาคกันดังตัวอย่างที่กล่าวมาแล้วเช่น "ฉันคือคนในสมัยนั้น" ผู้ใดถูกทำให้กระจ่างอย่างสมบูรณ์ ในเนื้อแท้ของธรรมกายไม่มีความแตกต่าง" คือ อรรถอื่นๆตัวอย่างมีกล่าวไว้ดังนี้ "ธรรมทั้งปวงอยู่ปราศจากธรรมชาติของตนเองที่เหมาะสม คือ ปราศจากการสร้างเป็นต้น" เพราะมันไม่ทำให้เกิดความผิดพลาดเรื่องความเข้าใจของอรรถตามตัวอักษร คือ ยุคสมัยอื่นนี้คือ ความตั้งใจดังตัวอย่างที่กล่าวไว้ว่า "เหล่าบุคคลผู้ถือสัตยาธิษฐานในความเห็นเรื่อง "สุขาวดี" มีการกลับมาเกิดอีกภายหลังเวลาอันยาวนาน" คือ แนวโน้มของสาระเมื่อใดตัวอย่าง "คนผู้ยกยอสรรเสริญรากแห่งความดีของคนผู้ที่กล่าวถึงและเมื่อใดที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ของคนอื่นดังกล่าวผู้ที่มีความพอใจกับสิ่งเล็กน้อยมาก เหนือสองบทของโศลกมีประโยชน์ตลอดของพระสูตรแห่งมหายานในฐานะที่มันเป็นบทสรุปของการพัฒนาอันยาวนานดังที่กล่าวไว้
One verse on the analysis of intentional hints:
18. The intentional hint should be understood as fourfold, intending equality, another meaning, another time, and personal disposition.
There are four types of intentional hint. There is the hint of equality, such as that in "It was I myself who was at that time the perfect Buddha, Vipasyin," hinting that the Dharma-body is undifferentiated. There is the hint of another meaning, such as that in "All things are unreal and unproduced and so on," as this hints at another non-literal meaning. There is the hint of another time, such as that in "Those who aspire to Sukhâvatï will be born there," hinting at another time. And there is the hint of personal disposition, as, for example, when the same root of virtue is praised in some and yet disparaged in others, in the (case where the former are beginners and the latter more advanced and yet) complacent with merely minimal (virtue).
These two verses condense the extensive scriptures of the universal vehicle and have the benefits (of the scriptures of the universal vehicle). They are:
一首关于分析有意暗示的诗句:
18.故意暗示应理解为四重:意图平等、另一种含义、另一种时间、个人倾向。
有意暗示有四种类型。 其中有平等的暗示,如“是我,彼时圆佛,毗婆尸”,暗示法身无差别。 隐含着另一种意义,如“诸法非实非生等”,就暗示着另一种非字面的意义。 这里有另一个时代的暗示,比如“求极乐者,必生彼处”,暗示另一个时代。 还有个人性格的暗示,例如,当同一个德根在某些人身上受到赞扬,而在另一些人身上受到贬低时,在(前者是初学者,后者是更先进的情况下)仅仅沾沾自喜的情况下, 最小(美德)。
此二偈,浓缩普乘经典,有利益。 他们是:

๙.ความเต็มรอบและในความบริสุทธิ์แห่งธรรมกาย

ปฺรปูเรา จ วิศุทฺเธา จ ธรฺมกายสฺย สรฺวถา I
กโรติ สตตํ ธีมาเนวํ เหตุปริคฺรหํ II 22 II

ตตะ ศุทฺเธะ ปูรฺวํคมานฺปญฺจานุศํสานฺ ลภเต I ศุทฺเธริติ ศุทฺธฺยาศยภูเมะ I เตษำ จ ลาภาทฺวิศุทฺธิภาชนตฺวํ ปฺราปฺโนติ I นิรูตฺตรํ ยานานนฺตรฺยาตฺ[นุตตรุยาตฺ] ปฺรปูเรา จ วิศุทฺเธา จ ธรฺมกายสฺเยติ ทศมฺยำ ภูเมา ปริปูริรฺพุทฺธภูเมา วิศุทฺธิะ I เอเตษำ ปณฺจานามนุศํสานำ ตฺรยะ ศมถปกฺษาะ เทวา วิปศฺยนาปกฺเษา เวทิตวฺเยา I อโต ยาวลฺเลากิกะ สมุทาคมะ I
prapūrau ca viśuddhau ca dharmakāyasya sarvathā |
karoti satataṃ dhīmān evaṃ hetuparigrahaṃ || AMsa_14.22 ||

(Msa 93)
tataḥ śuddheḥ pūrvaṃgamān pañcānuśaṃsān labhate | śuddher iti śuddhyāśayabhūmeḥ | teṣāṃ ca lābhādviśuddhibhājanatvaṃ prāpnoti | niruttaraṃ yānānantaryāt | prapūrau ca viśuddhau ca
dharmakāyasyeti daśamyāṃ bhūmau paripūri rbuddhabhūmau viśuddhiḥ | eteṣāṃ pañcānām anuśaṃsānāṃ trayaḥ śamathapakṣā dvau vipaśyanāpakṣau veditavyau | ato yāval laukikaḥ samudāgamaḥ |

22. ในความเต็มรอบและในความบริสุทธิ์แห่งธรรมกายโดยประการทั้งปวง ผู้มีปัญญา ย่อมกระทำความยึดถือโดยรอบแห่งเหตุอย่างนี้อย่างต่อเนื่อง I

อรรถาธิบาย : ลำดับนั้น บุคคลย่อมได้การสรรเสริญ 5 ประการอันเป็นไปในเบื้องหน้า แต่ความบริสุทธิ์ I ความบริสุทธิ์ได้แก่ ภูมิเป็นที่อาศัยอันบริสุทธิ์ I และย่อมบรรลุซึ่งความเป็น ภาชนะแห่งความบริสุทธิ์ เพราะการได้สิ่งเหล่านั้น I อันยอดเยี่ยม เพราะความเป็นอนันต์แห่งยาน I ในความเต็มรอบและในความบริสุทธิ์ในธรรมกาย ได้แก่ ความเต็มรอบในภูมิ 10 ความบริสุทธิ์ในพุทธภูมิ I พึงทราบ การสรรเสริญ 5 ประการเหล่านั้น คือ ฝ่ายสมถะ 3 ฝ่ายวิปัสสนา 2 I เพราะเหตุ นั้นจนกระทั่งความถึงพร้อมอันเป็นโลกิยะ I

22. In this way, the genius always and everywhere accomplishes the embrace of the cause for the fulfillment and purification of the body of truth.
Then he obtains the five benefits which are the precursors of purity. "Purity" is the stage of the pure universal responsibility. Having obtained them he becomes the vessel of purity. "Unexcelled" refers to the unexcelled vehicle. In "for the fulfillment and purification of the body of truth," "fulfillment" is the tenth bodhisattva
stage, "purification" the buddha stage. Of the five benefits, three belong to serenity and two to transcendent insight. These are the mundane attainments.
22. 这样,天才无论何时何地都完成了对真理本体的实现和净化事业的拥抱。
然后他获得五种利益,这是清净的前兆。 “纯粹”是纯粹普遍责任的阶段。 获得它们后,他就成为纯洁的器皿。 “无上”是指车辆无上。 「为法身圆满清净」中的「圆满」就是第十菩萨。
阶段,“净化”佛阶段。 五利益中,三是定,二是慧。 这些都是世俗的成就。

๑๐.มีธรรมกายอันสมบูรณ์

อุเปกษกะ เกษตฺรวิโศธกศิจ สฺยาตฺสตฺตฺวปาเก กุศโล มหรฺทฺธิะ I
สํปูรฺณกายศิจ นิทรฺศเน จ ศกฺโต,ภิษิกฺตะ ขลุ โพธิสตฺตฺวะ II 16 II

ทศสุ ภูมิษุ ทศ โพธิสตฺตฺวา วฺยวสุถาปฺยนฺเต I ปฺรถมายำ วิศุทฺธทฺฤษฺฎิะ ปุทฺคล-
ธรฺมทฺฤษฺฎิปฺรติปกฺษชฺญานลาภาตฺ I ทฺวิตียายำ สุวิศุทฺธศีละ สูกฺษฺมาปตฺติสุขลิตสมุทาจารสฺยาปฺยภาวาฺ I ตฺฤตียายำ สมาหิโต ภวตฺยจฺยตธฺยานสมาธิลาภาตฺ I จตุรฺถฺยำ ธรฺมวิภูตมานะ สูตฺราทิธรฺมนานาตฺวมานสฺย วิภูตฺวาตฺ I ปญฺจมยำ สํตานเภเท นิรฺมาโณ ทศฺภิศฺจิตฺตาศยวิศุทฺธสมตาภิะ สรฺวสํตานสมาตาปฺรเวศาตฺ I ษษฺฐฺยำ สํเกฺลศวฺยวทานเภเท นิรฺมาณะ ปฺรตีตฺยสมุตฺปาทตถตาพหุลวิหาริ ตยา กฺฤษฺณศุกฺลปกฺษาภฺยำ ตถตายาะ สํเกฺลศวฺยวทานาทรฺศนาตฺ I ปฺรกฺฤติวิศุทฺธิตามุปาทาย I สปฺตมฺยาเมจิตฺตกฺษณลพฺธพุทฺธิรฺนิรฺนิมิตตวิหารสามรฺถยาตฺ ปฺรติกฺษณํ สปฺตตุรึศทฺโพธิปกฺษภาวนา ตะ I อษฺฎมฺยามุเปกฺษกะ เกฺษตฺรวิโศธกศฺจานาโภคนิรฺนิมิตตวิหาริตุวาทฺ มิศฺโรปมิศฺรปฺรโยคตศฺจาวิ-นิวรฺตนียภูมิปุรวิษฺไฎรฺโพธิสตฺตฺไวะ I นวมฺยำ สตฺตฺวปริปากกุศละ ปูรฺววตฺ I ทศมฺยำ โพธิสตฺตฺวภูเมา โพธิสตฺตฺโว มหรฺทฺธิกศฺจ วฺยวสฺถาปฺยเต มหาภิชฺญาลาภาตฺ I สํปูรฺณธรฺมกายศฺจาปฺรมาณสมาธิ ธารณีมุขสฺผุรณาทาศฺรยสฺย นิทรฺศเน จ ศกฺโต วฺยวสฺถาปฺยเต ตุษิตภวนวาสาทินิรฺมาณนิทรฺศนาตฺ I อภิ-ษิกฺตศฺจ พุทฺธตฺเว สรฺวพุทฺเธภฺยสฺตตฺราภิเษกลาภาต. I
upekṣakaḥ kṣetraviśodhakaś ca syāt satvapāke kuśalo maharddhiḥ |
saṃpūrṇakāyaś ca nidarśane ca śakto 'bhiṣiktaḥ khalu bodhisatvaḥ || AMsa_20-21.16 ||

daśasu bhūmiṣu daśa bodhisatvā vyavasthāpyate | prathamāyāṃ viśuddhadṛṣṭiḥ pudgaladharmadṛṣṭipratipakṣajñānalābhāt | dvitīyāyāṃ suviśuddhaśīlaḥ sūkṣmāpattiskhalitasamudācārasyāpy abhāvāt | tṛtīyāyāṃ samāhito bhavaty acyutadhyānasamādhilābhāt | caturthyā dharmavibhūtamānaḥ sūtrādidharmanānātvamānasya vibhūtatvāt | pañcamyāṃ saṃtānabhede nirmāṇo daśabhiś cittāśayaviśuddhisamatābhiḥ sarvasaṃtānasamatāpraveśāt | ṣaṣṭyāṃ saṃkleśavyavadānabhede nirmāṇaḥ pratītyasamutpādatathatābahulavihāritayā kṛṣṇaśuklapakṣābhyāṃ tathatāyāḥ saṃkleśvyavadānādarśanāt | prakṛtiviśuddhitām upādāya | saptamyām ekakṣaṇalabdhabuddhir nirnimittavihārasāmarthyāt pratipakṣaṇaṃ saptatriṃśad bodhpakṣabhāvanātaḥ | aṣṭamyām upekṣakaḥ kṣetraviśodhakaś cānābhoganirnimittavihāritvād miśra-upamiśraprayogataś cāvinivartanīyabhūmipraviṣṭair bodhisatvaiḥ | navamyāṃ satvaparipākakuśalaḥ pūrvavat | daśamyāṃ bodhisatvabhūmau bodhisatvo maharddhikaś ca vyavasthāpyate mahābhijñālābhāt | 
saṃpūrṇakāya(saṃpūrṇadharmakāya)ś  pramāṇasamādhidhāraṇīmukhasphuraṇād āśrayasya nidarśane ca śakto vyavasthāpyate tuṣitabhavanavāsādinirmāṇanidarśanāt | bhiṣiktaś ca buddhatve sarvabuddhebhyas tatrābhiṣekalābhāt | śikṣāvyavasthānam ārabhya pañca ślokaḥ |

16. ผู้มีอุเบกขา ผู้ชำระเกษตร พึงมีในการยังสัตว์ให้แก่รอบ เป็นผู้ฉลาด มีฤทธิ์มาก มี กายสมบูรณ์ มีอำนาจในการแสดง เป็นผู้อภิเสกคือ พระโพธิสัตว์

อรรถาธิบาย : ในภูมิ 10 พระโพธิสัตว์ 10 ย่อมตั้งมั่นอยู่ I ในภูมิที่ 1 ผู้มีทิฐิบริสุทธิ์ เพราะการได้ความรู้อันเป็นปฎิปักษ์แห่งบุคคลและธรรม I ในภูมิที่ 2 ผู้มีศีลบริสุทธิ์ เพราะการไม่มี แห่งอาบัติละเอียด และการประพฤติอันเกิดขึ้นพร้อม เพื่อการมีกิเลส I ในภูมิที่ 3 มีสมาธิ เพราะได้ สมาธิในธยานอันไม่เคลื่อน I ในภูมิที่ 4 มีใจยิ่งใหญ่ในธรรม เพราะความยิ่งใหญ่แห่งใจอันประกอบด้วยธรรม มีพระสูตร เป็นต้น I ในภูมิที่ 5 การเนรมิตในความต่างแห่งสันดาน เพราะการ เข้าไปในความเสมอแห่งสันดานทั้งปวงด้วยความเสมออันบริสุทธิ์แห่งอัธยาศัยของจิต 10 I ในภูมิ ที่ 6 การเนรมิตในความต่างแห่งเหตุเริ่มต้นของกิเลส ด้วยการเป็นอยู่โดยมากด้วยปฎิจจสมุปปาท เพราะแสดงเหตุแห่งกิเลสด้วยตถตาอันเป็นที่สิ้นไปแห่งธรรมอันดำและขาว I ถือเอาแล้วซึ่งความบริสุทธิ์โดยปกติ I ในภูมิที่ 7 พุทธอันได้ในขณะหนึ่งเดียวแห่งจิต เพราะความสามารถในการอยู่ ด้วยนิมิต เพราะภาวนาโพธิปักษ์ 37 ประการ เป็นประจำ I ในภูมิที่ 8 ผู้มีอุเบกขาและผู้ชำระเกษตร เพราะอยู่โดยไม่มีโภคะและนิมิต ผู้ประกอบในการผสมและเข้าไปประสมด้วยพระโพธิสัตว์ผู้เข้า ไปสู่ภูมิอันไม่พึงถอยกลับ I ในภูมิที่ 9 ฉลาดในการยังสัตว์ให้แก่รอบเหมือนก่อนIในโพธิสัตว์ ภูมิที่ 10 พระโพธิสัตว์ ผู้มีฤทธิ์มากย่อมตั้งมั่น เพราะการได้ความรู้อันยิ่งใหญ่ I มีธรรมกายอันสมบูรณ์และเป็นผู้สามารถในการแสดงพื้นฐานสมาธิ การทรงไว้ ความยิ่งใหญ่ และกว้างขวางอัน ไม่มีประมาณย่อมตั้งมั่น เพราะเนรมิตและแสดงการอยู่ในภพชื่อว่า ดุสิต เป็นด้น I ผู้อภิเสกแล้ว เพราะการได้การอภิเสกในความเป็นพุทธะแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง I
16. (he has) equanimity, purification of the buddha land, skill in developing beings, great power, physical perfection, skill in manifestation, and true consecration.
Ten (kinds of) bodhisattvas are described as being on the ten stages. On the first, (the bodhisattva) has the pure view, having obtained the intuitive wisdom which remedies (false) convictions concerning subjects and objects. On the second, his ethics are very pure, as his behavior does not transgress into even the slightest sin. On the third, he has equanimity, having obtained unwavering contemplation and concentration. On the fourth, he is free of Dharma pride, having eliminated pride about (mastery of) the variety of the teachings of the scriptures, and so forth.
On the fifth, he is free of pride in his spiritual process, having arrived at the equality of all processes through the ten equalities of mind and aspiration.18
On the sixth, due to natural purity, she is free of pride from differentiating addiction and purification, since, by long stability in the suchness of dependent origination, she no longer perceives addiction and purification in the suchness of good and evil.
On the seventh, by the power of stability in signlessness, since she practices the thirty-seven accessories of enlightenment in a single instant, she attains the instantaneous understanding. On the eighth, since she stands in signlessness spontaneously and her practice is inextricably merged with bodhisattvas on the stage of nonregression, she has equanimity and purification of the buddhaverse. On the ninth, she is skillful in developing beings, as above.
On the tenth bodhisattva stage, having attained great psychic powers, a bodhisattva is established as having great power. Having become saturated with boundless doors of concentration and retention, he is described as physically perfect. Having manifested the emanations of standing in the Tusita heaven and so forth, he is described as skilled in physical manifestation. And, having there obtained consecration from all the buddhas, he is described as consecrated in buddhahood.
十六、舍、佛土清净、众生术、大威力、形体、显现术、真实回向。
十地被描述为十种菩萨。 首先,(菩萨)具有清净见,获得了对治(错误)对主体和客体的信念的直觉智慧。 第二,他的道德非常纯洁,他的行为没有丝毫的罪过。 第三,他有舍,获得坚定不移的禅定和定力。 第四,他脱离了佛法的骄傲,消除了对(掌握)经典教义的多样性等的骄傲。
第五,他对自己的灵性修行没有骄傲感,通过十种心与愿平等达到了所有修行的平等。 18
第六者,由于本性清净,她不因分别贪与清净而生慢慢,因为在缘起真性中长期安定,她不再在善与恶的实相中感知贪与清净。
第七者,以无相安定力,一刹那修三十七菩提分,得刹那明。 八日,自性无相而立,修行与不退地菩萨无二无别,故有佛境舍清净。 九者,善巧发展众生,如上。
第十地菩萨,已得大神通,被立为大势菩萨。 他已经充满了无边的专注力和记忆力之门,被描述为身体完美。 他显现出站立在兜率天等处的化身,被描述为擅长身体现现。 并且,在那里获得了诸佛的开光,他被称为成佛开光。

๑๑. ความสำเร็จจากความบริบูรณ์แห่งธรรมกาย

ตไตฺรวานุศํสวิภาเค โศฺลกะ I

ศมเภ วิปศฺยนายำ จ ทฺวยปญฺจาตฺมโก มตะ I
ธีมตามนุศํโส หิ สรฺวถา สรฺวภูมิษุ II 31 II

ตไตฺรว ปารมิตาลาเภ สรฺวภูมิษุ โพธิสตฺตฺวานำ สรฺวปฺรกาโร’นิศํสะ ปญฺจวิโธ เวทิตวฺยะ I ปฺรติกฺษณํ สรฺวเทาษฺฐุลฺยาศฺรยํ ทฺราวยติ I นานาตฺวสํชฺณาวิคตึ จ ธรฺมารามรติะ ปฺรติลภเต I อปริจฺฉินฺนาการํ จ สรฺวโต’ปฺรมาณํ ธรฺมาวภาสํ สํชานีเต I อวิกลฺปิตานิ จาสฺย วิศุทฺธิภาคียานิ นิมิตฺตานิ สมุทาจรนฺติ I ธรฺมกายปริปูริปรินิษฺปตฺตเย จ อุตฺตราทุตฺตรตรํ เหตุสํปริคฺรหํ กโรติ I ตตฺร ปฺรถม-ทฺวิตีเยา สมถปกฺเษ เวทิตวฺเยาI ตฺฤตียจตรฺเถา วิปศฺยนาปกฺเษ I เศษมุภยปกฺเษ I
tatraivānuśaṃsavibhāge ślokaḥ |

śamathe vipaśyanāyāṃ ca dvayapañcātmako mataḥ |
dhīmatām anuśaṃso hi sarvathā sarvabhūmiṣu || AMsa_20-21.31 ||

tatraiva pāramitālābhe sarvabhūmiṣu bodhisatvānāṃ sarvaprakāro 'nuśaṃsaḥ | pañcavidho veditavyaḥ | pratikṣaṇaṃ sarvaduaṣṭhulyāśrayaṃ drāvayati | nānātvasaṃjñāvigatiṃ dharmārāmaratiḥ pratilabhate | aparicchinnākāraṃ ca sarvato 'pramāṇaṃ dharmāvabhāsaṃ saṃjānīte | avikalpitāni cāsya viśuddhibhāgīyāni nimittāni samudācaranti |
dharmakāyaparipūripariniṣpattaye ca uttarād uttarataraṃ hetusaṃparigrahaṃ karoti | tatra prathamadvitīyau śamathapakṣe veditavyaṃ | tṛtīyacaturthau vipaśyanāpakṣe | śeṣam ubhayapakṣe |

โศลกว่าด้วยการจำแนกการสรรเสริญในที่นี้นั่นเทียว

31. พึงทราบความมีตน 5 ในสิ่งทั้ง 2 คือ สมถะและวิปัสสนาการสรรเสริญของผู้มีปัญญา ในที่ทั้งปวง ในภูมิทั้งปวง

อรรถาธิบาย : ในที่นี้การสรรเสริญอันมีประการทั้งปวง พึงทราบว่ามี 5 ประการของ พระโพธิสัตว์ ในภูมิทั้งปวงในการได้บารมีเทียว I ในขณะเดียวกันแสดงพื้นฐานแห่งโทษ ประทุษร้ายทั้งปวง I การไปปราศจากความรู้ต่างๆและความยินดีในธรรมย่อมได้เฉพาะ I ย่อมรู พร้อมซึ่งอาการอันไม่ขาดตอนและอภาวะแห่งธรรมอันไม่มีประมาณ โดยประการทั้งปวง I ย่อม กระทำการเป็นเจ้าของแห่งเหตุอันยอดเยี่ยม ด้วยความสำเร็จจากความบริบูรณ์แห่งธรรมกาย I ในที่นี้ที่ 1 และที่ 2 พึงทราบว่าเป็นสมถะ I บทที่ 3 และ 4 เป็นวิปัสสนา I ส่วนที่เหลือเป็นทั้งสมถะ และวิปัสสนาทั้ง 2  I
A verse on the analysis of the benefits (of attaining the transcendences):
31.24 For the geniuses, the benefits throughout the stages are considered fivefold in relation both to serenity and insight.
When the transcendences have been achieved, the bodhisattvas have all kinds of benefits which should be understood to be fivefold on all stages. At every moment, she causes the foundation of all negative conditionings to be destroyed. She enjoys the pleasure of the Dharma, free from notions of plurality. She recognizes the light of the Dharma which is everywhere indivisible as well as immeasurable. Without being conceptualized, the signs of purification present themselves to her. In order to perfect the fulfillment of the truth-body, she creates an assemblage
of causes which always increases from ultimate to more ultimate.
The first two (of these benefits) are to be understood as relating to serenity, the third and fourth to transcendent insight, and the last to both.
Nine verses on the analysis of the etymology of the stages:2
分析利益偈(获得超越):
31.24 对于天才来说,在平静和洞察力方面,整个阶段的利益被认为是五倍的。
菩萨成就解脱时,有种种利益,应知一切地有五重。 每时每刻,她都会摧毁所有负面条件的基础。 她不受多重观念的束缚,享受佛法的乐趣。 她了悟法光无处不在、不可分割、无量无边。 在没有被概念化的情况下,净化的迹象就呈现在她面前。 为了圆满圆满实相,她创造了一系列因,总是从终极到更终极。
前两个(这些利益)应被理解为与平静有关,第三个和第四个与超然的洞察力有关,最后一个与两者都有关。
九偈分析阶段词源:

๑๒. ความเป็นผู้ไม่ปรากฏในที่ทั้งปวงด้วยธรรมกาย

นิษฺปนฺนปรมารฺโถํ’สิ สรฺวภูมิวินิะสฺฤตะ I
สรฺวสตฺตฺวาคฺรตำ ปฺราปฺตะ สรฺวสตฺตฺววิโมจกะ II 60 II
อกฺษไยรสไมรฺยุกฺโต คุไณรฺโลเกษุ ทฺฤศฺยเส I
มณฺฑเลษฺวปฺยทฺฤศยศฺจ สรฺวถา เทวมานุไษะ II 61 II

อตฺร ษฑฺภิะ สฺวภาวเหตุผลกรฺมโยควฺฤตฺตฺยรฺไถรฺพุทฺธลกฺษณํ ปริทีปิตํ I ตตฺร วิศุทฺธา ตถตา นิษฺปนฺนะ ปรมารฺถะ I ส จ พุทฺธานำ สฺวภาวะ I สรฺวโพธิสตฺตฺวภูมินิรฺยาตตฺวํ เหตุะ I สรฺวสตฺตฺวาคฺรตำ ปฺราปฺตตฺวํ ผลํ I สรฺวสตฺตฺววิโมจกตุวํ กรฺม I อกฺษยาสมคุณยุกฺตตุวํ โยคะ I นานาโลกธาตุษุ ทฺฤศฺยมานตา นิรฺมาณกาเยน ปรฺษนฺมณฺฑเลษฺวปิ ทฺฤศฺยมานตา สำโภคิเกน กาเยน I สรฺวถา จาทฺฤศฺยมานตา ธรฺมกาเยเนติ ตฺริวิธา ปฺรเภทวฺฤตฺติริติ I
II มหายานสูตฺราลํกาเรษุ วฺยวทาตสมยมหาโพธิสตฺตฺวภาษิเต จรฺยาปฺรติษฺฐาธิกาโร นาไมกวึศติตโม,ธิการะ II
II สมาปฺตศฺจ มหายานสูตฺราลํการ อิติ II
niṣpannaparamārtho 'si sarvabhūmiviniḥsṛtaḥ |
sarvasatvāgratāṃ prāptaḥ sarvasatvavimocakaḥ || AMsa_20-21.60 ||
akṣayair asamair yukto guṇair lokeṣu dṛśyase |
maṇḍaleṣv apy adṛśyaś ca sarvathā devamānuṣaiḥ || AMsa_20-21.61 ||

atra ṣaḍbhiḥ svabhāvahetuphalakarmayogavṛttyarthair buddhalakṣaṇaṃ paridīpitaṃ | tatra viśuddhā tathatā niṣpannaḥ paramārthaḥ | sa ca buddhānāṃ svabhāvaḥ | sarvabodhisatvabhūminiryātatvaṃ hetuḥ | sarvasatvāgratāṃ prāptatvaṃ yogaḥ | nānālokadhātuṣu dṛśyamānatā nirmāṇakāyena (Msa 189) parṣaṇmaṇḍaleṣv api dṛśyamānatā sāṃbhogikena kāyena | sarvathā cādṛśyamānatā 
dharmakāyeneti trividhā prabhedavṛttir iti |

mahāyānasūtrālaṃkāreṣu vyavadātasamayamahābodhisatvabhāṣite
caryāpratiṣṭhādhikāro nāmaikaviṃśatitamo 'dhikāraḥ

samāptaś ca mahāyānasūtrālaṃkāra iti ||

โศลกว่าด้วยการจำแนกพุทธลักษณะ 2 โศลก

60. ผู้มีปรมัตถ์อันถึงแล้ว ผู้ไม่สร้างภูมิทังปวงขึ้น ผู้บรรลุการสงเคราะห์สรรพสัตว์ ผู้ ปลดเปลืองสรรพสัตว์
61. ผู้ประกอบด้วยคุณอันไม่รู้จักสิ้น อันไม่มีใครเสมอ ย่อมปรากฏในโลกทั้งปวง และ ไม่ปรากฏในมณฑลด้วยเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง

อรรถาธิบาย : ในที่นี้ ท่านแสดงพุทธลักษณะ ด้วยอรรถว่ามีสวภาวะ เหตุ ผล กรรม โยคะ I ในที่นี้ ตถตาอันบริสุทธิ์ คือ ปรมัตถ์อันบรรลุแล้ว I และนั้นเป็นสวภาวะของพระพุทธเจ้า I ความเป็นผู้ออกจากโพธิสัตว์ภูมิ คือ เหตุ I ความเป็นผู้ถึงซึ่งการสงเคราะห์สรรพสัตว์คือ ผล I ความเป็นผู้ปลดเปลืองสรรพสัตว์คือกรรม I ความเป็นผู้ประกอบด้วยคุณอันไม่รู้จักสิ้นและไม่มี ใครเสมอ คือ โยคะ I ความเป็นผู้ปรากฏในโลกธาตุต่างๆ ด้วยนิรมาณกาย ความเป็นผู้ปรากฏในท่ามกลาง แห่งบริษัทด้วยสัมโภคกาย I ความเป็นผู้ไม่ปรากฏในที่ทั้งปวงด้วยธรรมกาย ดังนี้แล การเป็นไปอัน แตกต่างมี 3 ประการ ดังนี้แล

อธิการที่ 21 ชื่อว่าอธิการว่าด้วยการตั้งอยู่ในจรรยา ในการกล่าวถึงมหาโพธิสัตว์ด้วยการ บรรลุถึงโอวาท ในมหายานสูตราลังการ จบ.

มหายานสูตราลังการ จบ.

Two verses on the analysis of the character of the Buddha:
60. You have achieved the ultimate!
You have transcended all the stages!
You have become the chief of all beings!
You are the liberator of all beings!
61. Endowed with endless, peerless excellences,
You manifest to the worlds and also in Your circles!
Yet You are totally out of sight of gods and humans!

The buddha character is explained here under six headings: nature, cause, result, activity, endowment, and function.
The ultimate achieved is pure suchness, which is the natural reality body24 of the buddhas. The transcending through all the bodhisattva stages is the cause. The achievement of supremacy over all beings is the result. The liberation of all beings
is the activity. Possession of endless, peerless excellences is the endowment. He is seen in the various world systems by means of the emanation body, and in the circles of (heavenly) assemblies by means of the beatific body. Yet he is entirely beyond being seen in his body of truth. Thus his function has this threefold distinction.

(A final verse (from the verse translation):25

分析佛陀性格的两偈:
60.你已经达到了极致!
你已经超越了所有的阶段!
你已经成为众生之首了!
您是一切众生的解放者!
61. 具足无量无双之功德,
你向世界以及你的圈子显现!
而你却完全脱离了神与人的视线!

佛性在这里以六个标题来解释:性、因、果、行、资、用。
最终达到的境界是清净如来,也就是诸佛的自然实相。 超越一切菩萨次第是因。 成就对一切众生的至高无上就是结果。 一切众生的解脱
是活动。 拥有无尽、无与伦比的卓越,就是天赋。 他在不同的世界体系中通过化身被看到,在(天上)集会的圈子中通过福体被看到。 然而,他完全无法在他的真理体系中被看到。 因此,他的职能具有三重区别。

(最后一节经文(来自经文翻译):

ที่มา

ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ

สันสกฤต

คัมภีร์วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ซึ่งพบว่าเป็นพระสูตรสำคัญที่สุดซึ่งปรากฏในช่วงคริสตวรรษที่ ๔ พร้อมกับคัมภีร์มหายานหลายคำภีร์ เช่น ปรัชญาปารมิตาสูตร มหายานสูตรลังการสูตร สมาธิสูตรลังการสูตร โพธิสัตวภูมิและลังกาวตารสูตร ประพันธ์โดยนาคารชุน ซึ่งเป็นคนละคนกับนาคารชุนผู้ก่อตั้งนิกายมาธยมิกะและเนื้อหาสาระในคัมภีร์วัขรปรัชญาปารมิตาสูตรกล่าวถึงความว่างของบุคคลและธรรมเช่นเดียวกับในคัมภีร์ของฝ่ายเถรวาท แต่ลักษณะของการอธิบายความแตกต่างกัน

SHARE

Author: verified_user

0 ความคิดเห็น: