วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561

ตามหาพระแก่นจันทน์ สิ่งอัศจรรย์ที่หายไป ตอน 9 พระถังซำจั๋งแปลพระไตรปิฎกอะไรบ้าง

SHARE
ตอน 9  พระถังซำจั๋งแปลพระไตรปิฎกอะไรบ้าง
รูปภาพที่เกี่ยวข้องhttps://gogonews.cc/article/3313657.html

คัมภีร์พระไตรปิฎกและพระสูตร ที่พระถังซำจั๋งแปลเป็นจำนวน 74 ปกรณ์ 1334 ผูก
หมวดอาคม เล่มที่ 1-2
ลำดับ-เล่ม-หน้า ชื่อพระสูตร ยุค (ราชวงศ์)-นามผู้แปล-ปี
01 02 0547 ปฺรตีตฺย-สมุตฺปาท-ทิวิภงฺค-นิรฺเทศ-สูตฺร 121 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-661
หมวดปรัชญา เล่มที่ 5-8
02 05 0001 มหาปฺรชฺญาปารมิตา-สูตฺร (ศต-สาหสฺริกา ปฺรชฺญา-ปารมิตา) 168 (600 ผูก) (ผูกที่ 1-200) ถัง-เสวียนจั้งแปล-660-663
03 06 0001 มหาปฺรชฺญาปารมิตา-สูตฺร169 (ผูกที่ 201-400) ถัง-เสวียนจั้งแปล
04 07 0001 มหาปฺรชฺญาปารมิตา-สูตฺร (ผูกที่ 401-600) ถัง-เสวียนจั้งแปล
05 08 0848 มหา-ปฺรชฺญาปารมิตา-หฺฤทย-สูตฺร (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
หมวดปุณฑริก และหมวดอวตังสก เล่มที่ 9-10
06 10 0591 อารฺย-ตถาคตานาม-พุทฺธเกฺษตฺร-คุโณกฺต-ธฺรม-ปรฺยาย 208 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
หมวดรัตนกูฏ และหมวดนิรวาณ เล่มที่ 11-12
07 11 0195 (12)โพธิสัตตว ปิฏก-สูตร (ผูกที่ 35-54) ถัง-เสวียนจั้งแปล
08 12 0348 เชิงจั้นจิ้งถู่ฝัวเซ่อโส้วจิง 286 (พระสูตรสรรเสริญสุขาวตี) (สุขาวตีสูตรฉบับเล็ก) (1ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-650
09 12 1112 ฝัวหลินเนี่ยผันจี้ฝ่าจู้จิง (การคงไว้แห่งธรรมที่บันทึกเมื่อใกล้พุทธปรินิรวาณ) (เรียกย่อๆ ว่า จี้ฝ่าจิง-บันทึกธรรมสูตร)296 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-652
หมวดมหาสันนิปาต เล่มที่ 13  หมวดสุตตนิปาต เล่มที่ 13-17
10 13 0721 กฺษิติครฺภ-สูตฺร (ทศ-จกฺร-กฺษิติครฺภ-สูตฺร) (มหายาน มหาสนฺนิปาต ทศ-จกฺร-กฺษิติครฺภ สูตฺร) (10 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-651-652) 313
11 14 0107 โซ่วฉือชีฝัวหมิงห้าวสั่วเซิงกงเต๋อจิง (อานิสงส์คุณแห่งศรัทธาพระพุทธเจ้าทั้งเจ็ด)(1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้ง-651
12 14 0404 ภควโต-ไภษชฺยคุรุไวฑูรฺยปฺรภสฺย-ปูรฺวปฺรณิธาน-วิเศษวิสฺตาร (ไภษชฺยคุรุ-ไวฑูรฺย-ปฺรภาส- ปูรฺว-ปฺรณิธาน-วิเศษ-วิสฺตาร หรือ ไภษชฺยคุรุ-ไวฑูรฺย-ปฺรภา-ราช-สูตฺร)332 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
13 14 0557 วจนะ วิมลกีรฺติ-นิรฺเทศ-สูตฺร (6 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล -650
14 14 0786 (ตถาคตเทศนา) ราชา-ววาทก-สูตฺร (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
15 15 0124 เทวตาสูตฺร 392 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-647
16 15 0723 ปฺรศานต-วินิศย-ปฺราติหารฺย-สมาธิ-สูตฺร 418 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-663
17 16 0688 สนฺธินิรฺโมจน-สูตฺร (เจี่ยเซินมี่จิง-พระสูตรนัยลึกซึ้งของคำสอนลับ) 434 (5 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-647
18 16 0720 พุทธวจนะ พุทฺธภูมิ-สูตฺร436 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
19 16 0782 อทฺภุต-ธรฺม-ปรฺยาย (สิ่งมีอยู่ที่หาได้ยาก) 440 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
20 16 0785 จุ้ยอู๋ปี่จิง (พระสูตรเทียมเสมอได้ยาก) 441 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
21 16 0827 นิทาน-สูตฺร451 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้ง-649
22 16 0837 วิกลฺป-ปฺรตีตฺย-สมุตฺปาท-ธรฺโมตฺตร-ปฺรเวศสูตฺร 452 (2 ผูก) ถัง-เสวียนจั้ง-650
23 17 0662 อิติวฺฤตฺตก สูตฺร 474 (7 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-650
24 17 0910 เชิงจั้นต้าเชิ่งกงเต๋อจิง (สรรเสริญคุณมหายานสูตร)508 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
หมวดรหัสยาน เล่มที่ 18-21
25 19 0001 พุทฺธหฺฤทย-ธารณี 529 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-650
26 20 0017 [อารย-]สหสฺราวรฺต [-นาม-]ธารณี (เรียกย่อๆ ว่า มนตร์ห้าบท) 603 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
27 20 0152 อวโลกิเตศฺวไรกาทศมุข-ธารณี622 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้ง-656
28 20 0402 อโมฆปาศกลฺป-หฺฤทยธารณี 632 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
29 20 0666 วสุธารา-ธารณี 669 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
30 21 0878 ษณฺมุขี-ธารณี (ธารณีหกทวาร) 760 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-645
31 21 0882 ธฺวชฺคฺร-เกยุร 763 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
32 21 0883 ปาหมิงผู่มี่ถัวหลัวหนีจิง (ธารณีลับแปดนามสามัญ) 764 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
33 21 0912 ป๋าจี้ขู่นั่นถัวหลัวหนี (ธารณีพ้นทุกข์กำจัดความยากลำบาก) 782 (1 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-654
หมวดวินัย เล่มที่ 22-24
34 24 1104 โพธิสตฺตฺวศีล-กรฺมัน-วฺยญฺชน 827 (1 ผูก) รจนาโดยไมเตรยโพธิสัตว์-ถัง-เสวียนจั้งแปล649
35 24 1110 โพธิสตฺตฺว-ศีล สูตฺร (โพธิสตฺตฺว-ปฺราติโมกฺษ)829 (1 ผูก) รจนาโดยไมเตรยโพธิสัตว์-ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
หมวดอรรถกถา และหมวดอภิธรรม เล่มที่ 25-29
36 26 0291 พุทฺธภูมิสูตฺร-ศาสฺตฺร หรือพุทฺธภูมิ-ศาสฺตฺร 847 (7 ผูก) ถัง-รจนาโดยพันธุประภา-เสวียนจั้งแปล-650
37 26 0367 อภิธรฺม-สงฺคีติ-ปรฺยาย-ปาท-ศาสฺตฺร (สงฺคีติปรฺยาย) 850 (20 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล-660-664
38 26 0453 อภิธรฺม-ธรฺม-สฺกนฺธ ปาท- ศาสฺตฺร (ธรฺมสฺกนฺธ) 851 (12 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล -659
39 26 0531 อภิธรฺม-วิชฺญาน-กาย-ปาท-ศาสฺตฺร (วิชฺญาน-กาย) 853 (16 ผูก) รจนาโดยเทวกเษมหรือเทวศรมัน-ถัง-เสวียนจั้งแปล
40 26 0614 อภิธรฺม-ธาตุ-กาย-ปาท-ศาสฺตฺร (ธาตุ-กาย) 854 (3 ผูก) ถัง-เสวียนจั้ง-663
41 26 0692 อภิธรฺม-ปฺรกรณปาท-ศาสฺตฺร (ปฺรกรณ-กฺรนฺถ หรือ ปฺรกรณ-ปาท)856 (18 ผูก) รจนาโดยวสุมิตร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-660
42 26 0918 อภิธรฺม-ชฺญาน-ปฺรสฺถาน-ศาสฺตฺร (ชฺญาน-ปฺรสฺถาน) 858 (20 ผูก) รจนาโดยกาตยายนีปุตร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-657
43 27 0001 อภิธรฺม-มหา-วิภาษา-ศาสฺตฺร (หรือ มหาวิภาษา) 859 (200 ผูก) รจนาโดยกาตยายนีปุตร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-656-659
44 28 0980 อภิธรฺม-อาวตาร-ปฺรกรณ (ปฺรกรณาภิธรฺมาวตาร) 868 (2 ผูก) รจนาโดยสกันถิละ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-658
45 28 0989 ปญฺจ-วสฺตุก-วิภาษ 869 (2 ผูก) รจนาโดยอารยธรรมตราตระ-ถัง-เสวียนจั้งแปล- 663
46 29 0001 อภิธรฺมโกศ-ภาษฺย (อภิธรฺม-โกศ-ศาสฺตฺร) 870 (30 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-651-654
47 29 0310 กาพย์อภิธรฺมโกศ 872 (1 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้ง--651
48 29 0329 อภิธรฺม-นฺยายานุสาร ศาสฺตฺร 873 (80 ผูก) รจนาโดยสังฆภัทร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-ระหว่าง 653-654
49 29 0777 อภิธรฺม-สมยปฺรทีปิก (หรือ อภิธรฺมโกศ-ศาสฺตฺร-การิกา-วิภาษฺย หรืออภิธรฺม-ปิฏก-ปฺรกรณ-ศาสน-ศาสฺตฺร) 874 (40 ผูก) รจนาโดยสังฆภัทร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-651-652
หมวดมาธยมิก และหมวดโยคาจาร เล่มที่ 30-31
 50 30 0182 ต้าเซิ่งกวั่งไป๋ลุ่นเปิ่น จตุ(ะ)-ศตก (จตุ(ะ)-ศติกา หรือจตุ(ะ)ศตก-ศาสฺตฺร-การิกา) 883 (1 ผูก) รจนาโดยอารยเทวะโพธิสัตว์-ถัง-เสวียนจั้งแปล
51 30 0187 ต้าเซิ่งกวั่งไป๋ลุ่นซื่อลุ่น (10 ผูก) รจนาโดยอารยเทวะโพธิสัตว์-อรรถกถาโดยธรรมปาล-ถัง-เสวียนจั้งแปล-650
52 30 0268 กรตล-รตฺน (หสฺต-มณิ) 889 (2 ผูก) รจนาโดยภาวิเวก-ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
53 30 0279 โยคาจารภูมิ-ศาสฺตฺร 890 (100 ผูก) รจนาโดยไมเตรยโพธิสัตว์-ถัง-เสวียนจั้งแปล
54 30 0883 โยคาจารภูมิ-ศาสฺตฺร –การิกา 891 (1 ผูก) รจนาโดยชินปุตร-ถัง-เสวียนจั้งแปล-650892
55 31 0001 วิชฺญปฺติมาตฺรตาสิทฺธิ-ศาสฺตฺร 896 (10 ผูก) รจนาโดยธรรมปาล-ถัง-เสวียนจั้งแปล
56 31 0060 ตฺริมฺศิกา หรือ ตฺริมฺศิกา-วิชฺญปฺติ-การิกา897 (1 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-648
57 31 0074 วิมฺศติกา-วิชฺญปฺติ-มาตฺรตา-สิทฺธิ(ะ) (วิมฺศติกา-วฺฤตฺติ) 901 (1 ผูก) ถัง-รจนาโดยวสุพันธุ-เสวียนจั้งแปล-661
58 31 0132 ถัง-มหายานสงฺคฺรห905 (3 ผูก) รจนาโดยอสังคะ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
59 31 0321 มหายาน-สงฺคฺรโหปนิพนฺธน (มหายาน-สงฺคฺรห-ภาษฺย) (10 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล
60 31 0380 มหายาน-สงฺคฺรโหปนิพนฺธน (มหายาน-สงฺคฺรห-ภาษฺย) (10 ผูก) รจนาโดยอสวภาวะ-ถัง-เสวียนจั้งแปล
61 31 0464 มธฺยานฺต-วิภาค-ตีกา 909 (3 ผูก) ถัง-เสวียนจั้งแปล
62 31 0477 มธฺยานฺต-วิภาค-การิกา 910 (1 ผูก) รจนาโดยไมเตรยะหรืออสังคะ- ถัง-เสวียนจั้งแปล
63 31 0480 อารฺย-ศาสน-ปฺรกรณ 911 (20 ผูก) ประกอบด้วยกาพย์ของอสังคะ และอรรถาธิบายของวสุพันธุ -ถัง-เสวียนจั้งแปล-645-646
64 31 0583 อารย-ศาสน-การิกา 912 (1 ผูก) กาพย์รจนาโดยอสังคะ-แปลโดยเสวียนจั้ง-645
65 31 0663 อภิธรฺมสมุจฺจย (สมุจฺจย) 914 (7 ผูก) รจนาโดยอสังคะ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-653
66 31 0694 มหายานาภิธรฺม-สมุจฺจย-วฺยาขฺยา (อภิธรฺม-สมุจฺจย-วฺยาขฺยา) 915 (16 ผูก) รจนาโดยสถิมรติ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-646
67 31 0781 กรฺม-สิทธิ-ปฺรกรณ 917 (1 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-651
68 31 0848 ปญฺจ-สฺกนฺธ-ปฺรกรณ 920 (1 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-646
69 31 0855 มหายาน ศตธรฺมา-ปฺรกาศมุขศาสฺตฺร 922 (1 ผูก) รจนาโดยวสุพันธุ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-648
70 31 0855 หวังฝ่าเจิ้งหลี่จิง (หลักราชธรรมสูตร)923 (1 ผูก) รจนาโดยไมเตรย-ถัง-เสวียนจั้งแปล-649
71 31 0888 อาลมฺพนปริกฺษ 932 (1 ผูก) รจนาโดยทิคนาคะ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-657
หมวดรวมศาสตร์ เล่มที่ 32
72 32 0001 นฺยายมุข 934 (1 ผูก) รจนาโดยมหาทินนาคะ-ถัง-เสวียนจั้งแปล-649-650
73 32 0011 นฺยายปฺรเวศ 936 (1 ผูก) รจนาโดยสังกรสวามินโพธิสัตว์ –ถัง-เสวียนจั้งแปล

ตามหาหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/03/1.html ตอน 1 “ธรรมกายแลคือพระตถาคต”  (ตถาคตคือธรรมกาย) 
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/03/3.html ตอน 3 กว่าจะเป็นพระพุทธเจ้านั้น ต้องเกิด 2 ครั้ง
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/03/4.html ตอน 4 ผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นเรา ผู้ใดเห็นเราผู้นั้นเห็นธรรม
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/03/5.html ตอน 5 เห็นพระพุทธเจ้าเห็นด้วยตาหรือเห็นด้วยใจ? เห็นอย่างไร?
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/04/6_82.html ตอน 6 ธรรมกาย เป็น อัตตา จริงหรือ?
http://newheartnewworld.blogspot.com/2018/04/4.html ตอน 7 ธมฺมกายพุทธลกฺขณํ พระพุทธลักษณะ คือพระธรรมกาย
SHARE

Author: verified_user

0 ความคิดเห็น: