วันเสาร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2561
สัมมนาเจดีย์ต่าง ๆ ในพุทธศาสนา
สัมมนาเจดีย์ต่าง ๆ ในพุทธศาสนา ๑
สัมมนาเจดีย์ชนิดต่าง ๆ ในพุทธศาสนา ๒
สัมมนาเจดีย์ต่าง ๆ ในพุทธศาสนา และบุโรพุทโธของชวา ๓
วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2561
หลักฐานธรรมกาย ในวิมลเกียรตินิรเทศสูตร
หลักฐานธรรมกาย
ในกถามุขวิมลเกียรตินิรเทศสูตร
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
ในพระสุตตันตปิฎกของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร (ยุ่ย ม่อ เคียก ซอ ส้วย เก็ง)
นับว่าเป็นพระสูตรสำคัญยิ่งสูตรหนึ่ง
ทั้งนี้เนื่องด้วยพระสูตรนี้ได้รวบรวมสารัตถะของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานไว้
ทั้งด้านปรมัตถธรรมและสมมติธรรม ทั้งยังแสดงถ่ายทอดออกมาด้วยรูปปุคคลาธิษฐาน
มีลีลาชวนอ่านให้เกิดความเพลิดเพลิน พร้อมทั้งได้รับธรรมรสซึมซาบเข้าไปโดยมิรู้ตัว
พระสูตรนี้ไม่ปรากฏมีในพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี
แต่ความข้อนี้มิได้เป็นเหตุให้เราผู้เป็นนักศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทปฏิเสธคุณค่าของพระสูตรนี้แต่อย่างไร
ทั้งนี้เนื่องจากหลักธรรมที่ประกาศในพระสูตรนี้ ก็คงดำเนินไปตามแนวพระพุทธมติ
คือในเรื่องของ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นเอง
แม้จะมีข้อแตกต่างบางประการก็เป็นเรื่องปลีกย่อยและเป็นสิ่งธรรมดาที่ต้องเป็นไปเช่นนั้น
มิฉะนั้นก็คงไม่เกิดนิกายมหายานขึ้น
ถ้าทุกสิ่งทุกอย่างในนิกายนั้นจะเหมือนกับฝ่ายเถรวาท... (อาจารย์เสถียร โพธินันทะ)
In the Suttanta Pitaka of Mahayana Buddhism Vimalakiat Niddesa Sutta (Yui Mo Kiak So Suai Keng) is considered one of the most important Suttas. This is because this sutra has collected the essence of Mahayana Buddhism. Both the paramattha dhamma and the hypothetical dhamma They also expressed and conveyed it with the image of Pukkhadhisatana. There is a style that invites reading to be enjoyable. along with receiving the Dhamma flavor absorbed without realizing it This sutra does not appear in the Pali version of the Tripitaka. But how does this not cause us, as students of Theravada Buddhism, to reject the value of this sutra? This is because of the principles proclaimed in this sutta. It would continue according to the Buddha's resolution. That is, in the matter of impermanence, dukkha, anattā, even though there are some differences, it is a minor matter and it is normal that it must be like that. Otherwise, the Mahayana sect would not have arisen. If everything in that sect were to be the same as the Theravada branch... (Professor Satian Bodhinanta)
๑.tatra yuṣmābhir evaṃrūpe kāye nirvidvirāga utpādayitavyas tathāgatakāye ca spṛhotpādayitavyā /
dharmakāyo hi mārṣāḥ tathāgatakāyo dānanirjātaḥ śīlanirjātaḥ
samādhinirjātaḥ prajñānirjāto vimuktinirjāto vimuktijñānadarśananirjātaḥ /
maitrīkaruṇāmuditopekṣānirjātaḥ / dānadamasaṃyamanirjātaḥ kṣāntisauratyanirjāto
dṛḍhavīryakuśalamūlanirjāto dhyānavimokṣasamādhisamāpattinirjātaḥ
śrutaprajñopāyanirjātaḥ /
ตตฺร ยุษฺมาภิรฺ เอวํรูเป กาเย นิรฺวิทฺวิราค อุตฺปาทยิตวฺยสฺ
ตถาคตกาเย จ สฺปฤโหตฺปาทยิตวฺยา /
ธรฺมกาโย หิ มารฺษาะ ตถาคตกาโย ทานนิรฺชาตะ
ศีลนิรฺชาตะ สมาธินิรฺชาตะ ปฺรชฺญานิรฺชาโต วิมุกฺตินิรฺชาโต
วิมุกฺติชฺญานทรฺศนนิรฺชาตะ / ไมตฺรีกรุณามุทิโตเปกฺษานิรฺชาตะ /
ทานทมสํยมนิรฺชาตะ กฺษานฺติเสารตฺยนิรฺชาโต ทฤฒวีรฺยกุศลมูลนิรฺชาโต
ธฺยานวิโมกฺษสมาธิสมาปตฺตินิรฺชาตะ ศฺรุตปฺรชฺโญปายนิรฺชาตะ /
ท่านวิมลเกียรติได้กล่าวถึงโทษแห่งสรีระไว้เป็นอเนกประการแล้วจึงกล่าวสรุปว่า
“ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย สรีรกายนี้น่าเบื่อหน่ายเห็นปานฉะนี้เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายพึงยินดีในพระพุทธสรีระ ข้อนั้นเพราะเหตุดังฤๅ ? ก็เพราะว่า อันพระพุทธสรีรกายนั้น คือพระธรรมกายนั้นเองย่อมเกิดมาจากปัญญาและคุณสมบัติเป็นอันมาก จักประมาณมิได้ เกิดจาก ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เกิดมาจากเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เกิดมาจากทาน ศีล ขันติ โสรัจจะ วิริยะ ฌาน วิมุตติ สมาธิ พหูสูต ปัญญาแล
“ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย สรีรกายนี้น่าเบื่อหน่ายเห็นปานฉะนี้เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายพึงยินดีในพระพุทธสรีระ ข้อนั้นเพราะเหตุดังฤๅ ? ก็เพราะว่า อันพระพุทธสรีรกายนั้น คือพระธรรมกายนั้นเองย่อมเกิดมาจากปัญญาและคุณสมบัติเป็นอันมาก จักประมาณมิได้ เกิดจาก ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เกิดมาจากเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เกิดมาจากทาน ศีล ขันติ โสรัจจะ วิริยะ ฌาน วิมุตติ สมาธิ พหูสูต ปัญญาแล
Therefore, you should be revulsed by such a body. You should
despair of it and should arouse your admiration for the body of the Tathagata.
"Friends,
the body of a Tathagata is the body of Dharma, born of gnosis. The body of a Tathagata is born of the stores of
merit and wisdom. It is born of morality, of meditation, of wisdom, of the
liberations, and of the knowledge and vision of liberation. It is born of love,
compassion, joy, and impartiality.
佛法身者,從福祐生;佛身者,從智生;從戒品、定品、慧品、解品、度知見品生;從慈、悲、喜、護生;從布施、調意、自損生;從忍辱、仁愛、柔和生;從強行、精進、功德生;從禪、解、定意、正受生;從智度無極、聞德生;從善權方便、智謀生;從一切諸度無極生;從三十七道品生;從神通生;從止觀生;從十力生;從四無所畏生;從佛十八法生;從斷一切惡法生;從一切善法合會生;從諦生;從誠生;不可計清淨行為成如來身,如是仁者,當自勗勉,欲除一切病者,當發行大道。
๒.
Vkn 3.45
api tu bhadantānanda dharmakāyās tathāgatā nāmiṣakāyāḥ
/ lokottarakāyās tathāgatāḥ sarvalokadharmasamatikrāntāḥ / anābādhas
tathāgatasya kāyaḥ sarvāsravavinivṛtaḥ / asaṃskṛtas tathāgatasya kāyaḥ sarvasaṃkhyāvigataḥ
/ tasya bhadanto vyādhim icchatīty ayuktam asadṛśam /
อปิ ตุ ภทนฺตานนฺท ธรฺมกายาสฺ ตถาคตา นามิษกายาะ / โลโกตฺตรกายาสฺ ตถาคตาะ สรฺวโลกธรฺมสมติกฺรานฺตาะ / อนาพาธสฺ ตถาคตสฺย กายะ สรฺวาสฺรววินิวฤตะ / อสํสฺกฤตสฺ ตถาคตสฺย กายะ สรฺวสํขฺยาวิคตะ / ตสฺย ภทนฺโต วฺยาธิมฺ อิจฺฉตีตฺยฺ อยุกฺตมฺ อสทฤศมฺ /
พระคุณเจ้าอานนท์พึงทราบไว้เถอะว่า
พระวรกายที่แท้จริงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายก็คือพระธรรมกายนั้นเอง
มิได้เป็นกายเกิดจากกิเลสตัณหา พระพุทธองค์เป็นพระผู้ควรบูชา
ประเสริฐเลิศกว่าผู้หนึ่งผู้ใดในไตรโลก พระสรีระของพระองค์เป็นอนาสวะ
มีอาสวธรรมเป็นมูลเฉทสิ้นเชิงแล้ว พระสรีระของพระองค์เป็นอสังขตะ ปราศจาก
เหตุปัจจัยปรุงแต่งได้ ไม่ตกไปในข่ายแห่งการนับประมาณได้
ก็เมื่อพระวรกายของพระองค์มีสภาพดังกล่าวมานี้ จักมีโรคาพาธเกิดขึ้นได้อย่างไรเล่า
?
"'Reverend Ananda, the Tathagatas have the body of the Dharma - not a body that is sustained by material food. The Tathagatas have a transcendental body that has transcended all mundane qualities.
"'Reverend Ananda, the Tathagatas have the body of the Dharma - not a body that is sustained by material food. The Tathagatas have a transcendental body that has transcended all mundane qualities.
There is no injury to the body of a Tathagata, as it is rid of all
defilements. The body of a Tathagata is uncompounded and free of all formative
activity. Reverend Ananda, to believe there can be illness in such a body is
irrational and unseemly!'
“‘阿难尊者,如来有法身,不是以物质食物维持的身体。如来有超凡脱俗的身。
如来的身体没有任何伤害,因为它消除了一切烦恼。 如来的身体是无为的,没有一切造作。 阿难尊者,相信这样的身体会生病,这是不合理和不体面的!
๓.
ท่านวิมลเกียรติทูลว่า
“ข้าแต่พระสุคต อุปมาการพิจารญาดูตัตตวลักษณะในสรีรกายของตนเองด้วยประการฉันใด ข้าพระองค์ย่อมพิจารณาดูพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็มีอุปไมยด้วยประการฉันนั้น กล่าวคือ ข้าพระองค์มาพิจารณาเห็นแจ้งว่าอันสภาวธรรมแห่งพระตถาคตเจ้านั้น ย่อมปราศจากการมาในอดีต ฤๅการไปในอนาคต แลในปรัตยุบันกาลเล่า ก็ปราศจากการตั้งอยู่๑ ข้าพระองค์ย่อมไม่พิจารณาเห็นพระองค์ในรูป หรือในรูปตถตาหรือในรูปสภาวะ ย่อมไม่พิจารณาเห็นพระองค์แม้ในเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่พิจารณาเห็นพระองค์ในวิญญาณตถตา หรือในวิญญาณสภาวะด้วยพระกายของพระองค์ (หมายพึงพระธรรมกาย) มิได้อุบัติก่อกำเนิดขึ้นด้วยอาศัยจตุรมหาภูตทั้ง ๔ แต่เป็นสภาวะอันปราศจากขอบเขตที่ตั้งครุวนาดุจเดียวกับสุญญากาศ…
“ข้าแต่พระสุคต อุปมาการพิจารญาดูตัตตวลักษณะในสรีรกายของตนเองด้วยประการฉันใด ข้าพระองค์ย่อมพิจารณาดูพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็มีอุปไมยด้วยประการฉันนั้น กล่าวคือ ข้าพระองค์มาพิจารณาเห็นแจ้งว่าอันสภาวธรรมแห่งพระตถาคตเจ้านั้น ย่อมปราศจากการมาในอดีต ฤๅการไปในอนาคต แลในปรัตยุบันกาลเล่า ก็ปราศจากการตั้งอยู่๑ ข้าพระองค์ย่อมไม่พิจารณาเห็นพระองค์ในรูป หรือในรูปตถตาหรือในรูปสภาวะ ย่อมไม่พิจารณาเห็นพระองค์แม้ในเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่พิจารณาเห็นพระองค์ในวิญญาณตถตา หรือในวิญญาณสภาวะด้วยพระกายของพระองค์ (หมายพึงพระธรรมกาย) มิได้อุบัติก่อกำเนิดขึ้นด้วยอาศัยจตุรมหาภูตทั้ง ๔ แต่เป็นสภาวะอันปราศจากขอบเขตที่ตั้งครุวนาดุจเดียวกับสุญญากาศ…
Thereupon, the Buddha said to the Licchavi Vimalakirti,
"Noble son, when you would see the Tathagata, how do you view him?"
Thus addressed, the Licchavi Vimalakirti said to the Buddha,
"Lord, when I would see the Tathagata, I view him by not seeing any
Tathagata. Why? I see him as not born from the past, not passing on to the
future, and not abiding in the present time. Why? He is the essence which is
the reality of matter, but he is not matter. He is the essence which is the
reality of sensation, but he is not sensation. He is the essence which is the
reality of intellect, but he is not intellect. He is the essence which is the
reality of motivation, yet he is not motivation. He is the essence which is the
reality of consciousness, yet he is not consciousness. Like the element of
space, he does not abide in any of the four elements. Transcending the scope of
eye, ear, nose, tongue, body, and mind, he is not produced in the six
sense-media. He is not involved in the three worlds, is free of the three
defilements, is associated with the triple liberation, is endowed with the
three knowledges, and has truly attained the unattainable.
于是,佛对维摩诘长者言:“贵子,当你见到如来时,你如何看待他?”
维摩诘长者如此对佛陀说:“世尊,当我欲见如来时,我以不见如来的方式看待他。为什么呢?我见他不是从过去生,不是从未来生, 不住于当下。为什么?他是本质,是物质的实在,但他不是物质。他是本质,是感觉的实在,但他不是感觉。他是本质,是感觉的实在。 他是智力的实在,但他不是智力。他是本质,是动机的实在,但他不是动机。他是本质,是意识的实在,但他不是意识。就像空间元素一样, 不住四界,超越眼、耳、鼻、舌、身、意的范围,不生于六入处,不涉三界,解脱。 三烦恼中,与三解脱相应,具足三智,真实证得不可及者。
๑.
ทางฝ่ายมหายาน
ย่อมไม่ถือว่าพระธรรมกายของพระพุทธเจ้าอันเป็นตัตตวลักษณะย่อมไม่มีเบื้องต้น
ท่ามกลาง และที่สุด เป็นอกาล.
ที่มา
ภาษาไทย
สันสกฤต
จีน
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561
หลักฐานธรรมกาย ในอภิธรฺมโกศภาษฺย
หลักฐานธรรมกาย
ในอภิธรฺมโกศภาษฺย
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
๑.
sa hi mahākalyāṇamitram avidyāndhāyāṃ prajāyāṃ
prajñācakṣuṣo dātā samaviṣamasya prakāśayitā anāsravasya dharmakāyasyātinivartayitā samāsato buddhakṛtyasya kartā |
ส หิ มหากลฺยาณมิตฺรมฺ อวิทฺยานฺธายํา ปฺรชายํา ปฺรชฺญาจกฺษุโษ ทาตา สมวิษมสฺย ปฺรกาศยิตา อนาสฺรวสฺย ธรฺมกายสฺยาตินิวรฺตยิตา สมาสโต พุทฺธกฤตฺยสฺย กรฺตา ฯ
[真] 此人是善知識,世間無明所暗,能施慧眼,能顯示平等、不平等,能生起無流法身。
[玄] 為諸世間大善友故,無明所盲者能施慧眼故,開示世間安危事故,令有情生起無漏法身故。
He
forms part of the category of benefactors: he gives the eye of wisdom to
multitudes blinded by ignorance; he proclaims what is good (sama = dharma) and bad (viṣama=adharma); he erects the pure body
of the Law[1]; in a word, he accomplishes all the work of a Buddha: hence he is
a great “spiritual friend.” (La Vallée Poussin and Pruden 1988, 700)
แท้จริงแล้ว พระองค์ทรงเป็นเพื่อนผู้ยิ่งใหญ่ มีเมตตากรุณา ประทานดวงตาแห่งปัญญาแก่คนตาบอดแห่งอวิชชา เป็นเครื่องส่องสว่างของผู้สับสน ขจัดอกุศล เป็นผู้กระทำการอันเป็นประโยชน์อันเป็นสากล เป็นผู้สร้างกายธรรมอันไม่มีเงื่อนไข กล่าวโดยสรุปคือตัวแทนแห่งการกระทำของพระพุทธเจ้า
๒.
kiṃ punaḥ sarve buddhāḥ sarvaprakārasāmānyā bhavanti / nety āha / saṃbhāradharmakāyābhyāṃ jagataś cārthacaryayā |
samatā sarvabuddhānāṃ nāyurjātipramāṇataḥ || 7.34 ||
samatā sarvabuddhānāṃ nāyurjātipramāṇataḥ || 7.34 ||
กิํ ปุนะ สรฺเว พุทฺธาะ สรฺวปฺรการสามานฺยา ภวนฺติ / เนตฺยฺ อาห /
สํภารธรฺมกายาภฺยํา ชคตศฺ จารฺถจรฺยยา /สมตา สรฺวพุทฺธานํา นายุรฺชาติปฺรมาณตะ /
In
saṃbhāra, dharmakāya and their service to beings, the Buddhas are identical;
not in their duration of life, their caste, their statures, etc.
ในสังภาระ ธรรมกายและการรับใช้ต่อสรรพสัตว์ พระพุทธเจ้าทั้งหลายเหมือนกัน มิใช่อยู่ที่อายุ วรรณะ รูปร่าง ฯลฯ
ยิ่งกว่านั้นพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ก็เหมือนกันทุกด้าน? ไม่เช่นนั้นก็มีการกล่าวว่า พวกเขารักษาความเท่าเทียมกันโดยการสนับสนุนของธรรมกายและกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของโลก ความเท่าเทียมกันระหว่างพระพุทธเจ้าไม่ได้วัดกันด้วยมาตรฐานวรรณะ
3.5.6 有關諸佛的同異及佛的三德
[真] 已說諸佛由十八法不與他共,為與諸佛一向共不?
[玄] 已弁佛德異餘有情,諸佛相望法皆等不?
[真] 考諸佛有共不共。此云何?偈曰:由資糧法身 及行他利益 一切佛平等 非壽姓量等
[玄] 頌曰:由資糧法身
利他佛相似
壽種姓量等
諸佛有差別
๓.
tribhiḥ kāraṇaiḥ sāmyaṃ sarvabuddhānām / sarvapuṇyajñānasaṃbhārasamudāgamataḥ
dharmakāyapariniṣpattitaḥ arthacaryayā ca lokasya |
ตฺริภิะ การณอิะ สามฺยํ สรฺวพุทฺธานามฺ /
สรฺวปุณฺยชฺญานสํภารสมุทาคมตะ ธรฺมกายปรินิษฺปตฺติตะ อรฺถจรฺยยา จ โลกสฺย ฯ
Through the three causes, equality is attained by all Buddhas, along with the culmination of the accumulation of all virtuous merits and knowledge, and the accomplishment of the Dharma Body, as well as the welfare of the world.
ด้วยเหตุ 3 ประการนี้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายจึงบรรลุความเสมอภาคได้ ควบคู่กับการสั่งสมบุญกุศลและความรู้อันดีงามทั้งปวง ความบรรลุถึงธรรมกายตลอดจนความผาสุกของโลกด้วย
3.5.6.1 諸佛平等的三因
[真] 釋曰:由三因緣,一切諸佛一切平等。
[玄] 論曰:由三事故,諸佛皆等。
[真] 一因圓滿平等,由昔行福德、智慧資糧同圓滿故。
[玄] 一由資糧等,圓滿故。
[真] 二果圓滿平等,由所得法身同具足成就故。
[玄] 二由法身等,成弁故。
[真] 三利益他平等,由對背証轉利益他事同究竟故,由此三義,諸佛平等。
[玄] 三由利他等,究竟故。
ที่มา
หลักฐาน ธรรมกาย ในอกฺษยมตินิรฺเทศ
หลักฐาน ธรรมกาย ในอกฺษยมตินิรฺเทศ
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
๑.
yā buddhavaṃsānupacchedatā dharmakāyāt, dharmavaṃsānupacchedatā dharmadhātvasaṃbhinnatayā,
saṃghavaṃsānupacchedatāsaṃskṛtaprabhāvanayā tac chīlam.
ยา พุทฺธวํสานุปจฺเฉทตา ธรฺมกายาตฺ, ธรฺมวํสานุปจฺเฉทตา ธรฺมธาตฺวสํภินฺนตยา, สํฆวํสานุปจฺเฉทตาสํสฺกฤตปฺรภาวนยา ตจฺ ฉีลมฺ.
morality is that which is the non-interruption
of the Buddhas’ lineage because of [attaining] the transcendent body,
non-interruption of the lineage of religious teaching because of [attaining]
non-separation from total reality, non-interruption of the lineage of the
religious community because the unconditioned is revealed.
๒.
yo bodhisattvaḥ samāpattikāle
buddhakāyālaṃkāratāṃ sākṣātkaroty ayaṃ tasyopāyaḥ; yo dharmakāyāsaṃbhinnaṃ dhyānaṃ dhyāyatīyaṃ tasya prajñā.
โย โพธิสตฺตฺวะ สมาปตฺติกาเล พุทฺธกายาลํการตํา สากฺษาตฺกโรตฺยฺ อยํ ตสฺโยปายะ; โย ธรฺมกายาสํภินฺนํ ธฺยานํ ธฺยายตียํ ตสฺย ปฺรชฺญา.
When the bodhisattva during his states of
concentration realizes the embellishment of a Buddha’s body [with the
characteristics of a great man and the marks of beauty (lakṣaṇānuvyañjana) ],
it is his expedient means; when he practises meditation inseparable from the
body of absolute reality, it is his insight.
๓.
sarvapuṇyajñānasaṃbhārasamudāgamataḥ dharmakāyapariniṣpattitaḥ arthacaryayā ca lokasya / .... caturvidhā ca
phalasaṃpat / jñānasaṃpat prahāṇasaṃpat prabhāvasaṃpad rūpakāyasaṃpac ca /
สรฺวปุณฺยชฺญานสํภารสมุทาคมตะ ธรฺมกายปรินิษฺปตฺติตะ อรฺถจรฺยยา จ โลกสฺย / .... จตุรฺวิธา จ ผลสํปตฺ / ชฺญานสํปตฺ ปฺรหาณสํปตฺ ปฺรภาวสํปทฺ รูปกายสํปจฺ จ /
๔.
vyañjanam iti yas
triratnaguṇānantavarṇanirdeśaḥ, artha iti yā buddhasya dharmakāyadarśanatā vigatarāganirodhadharmatāsaṃskṛtabuddhadharmasaṃghaguṇanirhārajñānam.
วฺยญฺชนมฺ อิติ ยสฺ ตฺริรตฺนคุณานนฺตวรฺณนิรฺเทศะ, อรฺถ อิติ ยา พุทฺธสฺย ธรฺมกายทรฺศนตา วิคตราคนิโรธธรฺมตาสํสฺกฤตพุทฺธธรฺมสํฆคุณนิรฺหารชฺญานมฺ.
The letter is displaying the endless praise of
qualities in the three jewels; while meaning is seeing the body of the Buddha
[including all] moments of existence, the state of moments of existence in
cessation where all passion has disappeared, the knowledge of attaining the
unconditioned qualities of the Buddha, his religion and congregation [that is,
knowledge understanding the qualities of the Buddha, his religion and the
congregation according to their essence in the highest meaning
(paramārthasvabhāvâdhigamajñāna) ].
๕.
ahaṃ taṃ tathāgatakāyaṃ dharmakāyaṃ vajrakāyam abhedyakāyaṃ dṛḍhakāyaṃ sarvatra dhātuviśiṣṭakāyaṃ
pratipatsye.
อหํ ตํ ตถาคตกายํ ธรฺมกายํ วชฺรกายมฺ อเภทฺยกายํ ทฤฒกายํ สรฺวตฺร ธาตุวิศิษฺฏกายํ ปฺรติปตฺสฺเย.
I will attain that body of the Tathāgatas, the
body of [all] moments of existence, the adamantine body, the uncrushable body,
the firm body, the body distinct from the threefold world.
ฉันจะได้บรรลุกายตถาคต ธรรมกาย
กายเพชร กายที่ไม่แตก กายที่แข็งแรง กายที่ไม่สามารถย่อยสลายได้
กายที่มั่นคง กายที่วิเศษจากธาตุทั้งปวง
ที่มา
https://www2.hf.uio.no/polyglotta/index.php?page=fulltext&view=fulltext&vid=424&level=1&cid=392844
วัชรกายของพระพุทธเจ้า ในสรรพชีวิตทั้งมวลเดิมแท้แล้วก็คือพุทธะ เมื่อเป็นธรรมกายจะต้องมีวัชรกายอีกภาคหนึ่ง พุทธจิตมีต้นกำเนิดจากอาทิพุทธทั้งสิ้น ดังนั้นพุทธะจิตและวัชรกายของเราก็คือพุทธจิตและวัชรกายของพระพุทธเจ้าด้วย
วัชรกายของพระพุทธเจ้า ในสรรพชีวิตทั้งมวลเดิมแท้แล้วก็คือพุทธะ เมื่อเป็นธรรมกายจะต้องมีวัชรกายอีกภาคหนึ่ง พุทธจิตมีต้นกำเนิดจากอาทิพุทธทั้งสิ้น ดังนั้นพุทธะจิตและวัชรกายของเราก็คือพุทธจิตและวัชรกายของพระพุทธเจ้าด้วย