หลักฐานธรรมกาย
ในสัททนีติปทมาลา
ธรรมทรรศน์ รวบรวม
๑.
Vibhūti
hettha rūpakāyadhammakāyasampattiyā visesabhūtoti attho. Āha ca –
‘‘Dissamānopi tāvassa,
rūpakāyo acintiyo;
Asādhāraṇañāṇaṭṭhe, dhammakāye
kathāva kā’’ti.
วิภูติ เหตฺถ รูปกายธมฺมกายสมฺปตฺติยา วิเสสภูโตติ อตฺโถฯ อาห จ –
‘‘ทิสฺสมาโนปิ ตาวสฺส, รูปกาโย อจินฺติโย;
อสาธารณญาณฏฺเฐ, ธมฺมกาเย กถาว
กา’’ติฯ
“แม้พระรูปกายของพระองค์ที่ปรากฏอยู่ก็ยังเป็นเรื่องอจินไตย
จะกล่าวไปไยถึงพระธรรมกาย (ของพระองค์) ซึ่งมั่งคั่งไปด้วยญาณ
คือความรู้ที่ไม่ทั่วไป”
Even his
visible form-body was beyond thought, what can be said of his spiritual body,
which was unique, having powerful knowledge?
“即使其可见的色身也不可思议,
对于不共之智的法身,又怎能说得清呢?”
Dissamāno pi tāvassa rūpakāyo acintayo,
Even his visible form-body was beyond thought,
asādhāraṇañāṇaḍḍhe dhammakāye kathā va kā ti?
what can be said of his spiritual body, which was unique, having powerful knowledge?
๒.
โลกเชฏฺโฐ สยมฺภูจ, มเหสิ มารภญฺชโน;
อโมฆวจโน ธมฺมกาโย มาราภิภู อิติฯ
lokajeṭṭho sayambhūca, mahesi mārabhañjano;
amoghavacano dhammakāyo mārābhibhū
iti।
“ผู้เป็นหัวหน้าของโลก ผู้กำเนิดเอง ผู้พิชิตมารผู้ยิ่งใหญ่
คำพูดของเขาไม่มีที่สิ้นสุด พระธรรมกายมีชัยเหนือมาร"
"The chief of the world, self-born, the great conqueror of Mara;
His speech is inexhaustible; the Dhammakaya prevails over Mara."
“世界之主,自生,魔罗伟大征服者;
他的言语无穷无尽; 法身战胜魔罗。”
๓.
Tatra taṇhaṅkaroti
veneyyānaṃ taṇhaṃ lobhaṃ karoti hiṃsatīti taṇhaṅkaro. Atha vā rūpakāyadhammakāyasampattiyā
attani sakalalokassa taṇhaṃ sinehaṃ karoti janetīti taṇhaṅkaro.
ตตฺร ตณฺหงฺกโรติ เวเนยฺยานํ ตณฺหํ โลภํ กโรติ
หิํสตีติ ตณฺหงฺกโร. อถ วา รูปกายธมฺมกายสมฺปตฺติยา อตฺตนิ
สกลโลกสฺส ตณฺหํ สิเนหํ กโรติ ชเนตีติ ตณฺหงฺกโร.
ในบทว่า ตัณหังกโร นั้น ชือว่า ตัณหังกโร เพราะย่อมกระทำ คือกำจัด ตัณหาคือความโลภของเวไนยทั้งหลาย อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า ผู้กำจัดตัณหา เพราะกระทำคือยังตัณหาและเสน่หาของชาวโลกทั้งหมดให้เกิดในตน ด้วยรูปกายสมบัติและธรรมกายสมบัติ
ในบทว่า ตัณหังกโร นั้น ชือว่า ตัณหังกโร เพราะย่อมกระทำ คือกำจัด ตัณหาคือความโลภของเวไนยทั้งหลาย อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า ผู้กำจัดตัณหา เพราะกระทำคือยังตัณหาและเสน่หาของชาวโลกทั้งหมดให้เกิดในตน ด้วยรูปกายสมบัติและธรรมกายสมบัติ
In the phrase tanhaṅkara, it is called tanhaṅkararo because it acts, that is, eliminates craving, which is the greed of all creatures. Another thing is called the destroyer of desire. Because the action is to create within oneself the desires and affections of all the worldly people. With physical properties and Dhammakaya properties
在 tanhankaro 一词中,它被称为 tanhankararo,因为它起作用,即消除贪爱,即一切众生的贪婪。 还有一个东西叫做欲望的破坏者。 因为这个行动是为了在自己内心创造所有世俗人的欲望和情感。 具有物理特性和法身特性
๔.
paraṃ vā ativiya sīlādiguṇagaṇaṃ attano santāne minoti
pakkhipatīti paramo, paraṃ vā attabhūtato dhammakāyato aññaṃ paṭipakkhaṃ vā
tadanatthakaraṃ kilesacoragaṇaṃ mināti hiṃsatīti paramo, mahāsatto, paramassa
ayaṃ, paramassa vā bhāvo, kammaṃ vā pāramī, dānādikriyā.
ปรํ วา อติวิย สีลาทิคุณคณํ อตฺตโน สนฺตาเน
มิโนติ ปกฺขิปตีติ ปรโม, ปรํ วา อตฺตภูตโต ธมฺมกายโต อญฺญํ ปฏิปกฺขํ วา ตทนตฺถกรํ กิเลสโจรคณํ
มินาติ หิํสตีติ ปรโม, มหาสตฺโต, ปรมสฺส
อยํ, ปรมสฺส วา ภาโว, กมฺมํ
วา ปารมี, ทานาทิกฺริยา
หรือบารมี
ย่อมตักตวงคุณมีศีลเป็นต้นอื่น ไว้ในสันดานของตนเป็นอย่างยิ่ง หรือบารมี
ย่อมทำลายเบียดเบียนปฏิปักษ์อื่นจาก ธรรมกาย อันเป็นอัตตา
หรือทำลายเบียดเบียนหมู่โจรคือกิเลส อันทำความพินาศแก่ ธรรมกาย อันเป็นอัตตานั้น
เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า ปรมะ สัตว์ใดประกอบด้วยปรมะ ดังกล่าวนี้ สัตว์นั้น
ชื่อว่า มหาสัตว์ ฯ
or prestige will take advantage of you for having morality, etc. very much in one's own nature, or prestige, destroys and oppresses other adversaries from the Dhammakaya, which is the self, or destroys and oppresses groups of thieves, which is defilements which causes destruction to the Dhammakaya which is the self For this reason, it is called Parama. Any being that is composed of Parama in this way is called a Mahasattva.
或威望会利用你本身的道德等,或威望会破坏和压迫法身的其他对手,即自我,或破坏和压迫盗贼集团,这是导致烦恼的原因。 法身即自我的毁灭,因此被称为究竟法。 任何以这种方式由Parama组成的众生都被称为 Mahasattva。
สทฺทนีติปฺปกรณํ ธาตุมาลา
วิภูติ วิเสสภูโตติ วิภู, ‘‘ภวโสตํ สเจ พุทฺโธ, ติณฺโณ โลกนฺตคู วิภู’’ติ อิทเมตสฺสตฺถสฺส สาธกํ วจนํฯ วิภูติ เหตฺถ รูปกายธมฺมกายสมฺปตฺติยา วิเสสภูโตติ อตฺโถฯ อาห จ –
‘‘ทิสฺสมาโนปิ ตาวสฺส, รูปกาโย อจินฺติโย;
อสาธารณญาณฏฺเฐ, ธมฺมกาเย กถาว กา’’ติฯ
0 ความคิดเห็น: